วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

โครงการรถไฟฟ้า เดินทามาใก้ล โครงการสิวารัตน์ จริงๆ มาบางบัวทอง



โครงการรถไฟฟ้า เดินทางมาใกล้ โครงการสิวารัตน์ 9

แนวเส้นทาง เป็นส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสายสุขุมวิท รวมระยะทาง 24 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงแรก จากอ่อนนุช-สำโรง-สมุทรปราการ มีจุดเริ่มต้นการก่อสร้างที่สถานีอ่อนนุชจากนั้นวิ่งไปตามถนนสุขุมวิทผ่านแยกบางนาไปทางสำโรงจนถึงสมุทรปราการ

- ช่วงสอง จากพระราม 1-ปิ่นเกล้า-จรัญสนิทวงศ์ มีจุดเริ่มต้นจากสถานีสนามกีฬาในแนวถนนบำรุงเมืองเข้าสู่แนวถนนราชดำเนินกลางและลอด ใต้แม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณเชิงสะพานปิ่นเกล้าไปจนถึงสถานีรถไฟธนบุรีแล้วเข้าสู่แนวถนนพรานนก จากนั้นจึงจะเริ่มยกระดับเมื่อเลยแยกพรานนก ไปจนถึงถนนจรัญสนิทวงศ์

รูปแบบโครงการ แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงอ่อนนุช-สำโรง ระยะทาง 8.9 กิโลเมตร โครงสร้างการก่อสร้างเป็นทางยกระดับตลอดแนวสายทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประมาณ 5.6 กิโลเมตร และมีแนวเขตทางอยู่ในพื้นที่สำโรงประมาณ 3.3 กิโลเมตร

- ช่วงสำโรง-สมุทรปราการ ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร เป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอดและ ช่วงพระราม 1-พรานนก (สามแยกไฟฉาย) ระยะทาง 6.8 กิโลเมตร โดยตลอดแนวสายทางจะมีโครงสร้างที่เป็นทั้งโครงสร้างยกระดับและโครงสร้างอุโมงค์

สถานีขึ้น-ลง : ผลการศึกษาในขั้นต้นระบุว่าจะมีการก่อสร้างสถานีรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 28 สถานี ทั้งแบบชานชาลากลาง และชานชาลาด้านข้าง ซึ่งแต่ละสถานีจะมีระยะห่างกัน 1 กิโลเมตรต่อสถานี ได้แก่

1. สถานี พรานนก
2. สถานี ศิริราช
3. สถานี หลานหลวง
4. สถานี ราชดำเนิน
5. สถานี มหานาค
6. สถานี สนามกีฬา
7. สถานี สยาม
8. สถานี ชิดลม
9. สถานี เพลินจิต
10. สถานี นานา
11. สถานี อโศก
12. สถานี พร้อมพงศ์
13. สถานี ทองหล่อ
14. สถานี เอกมัย
15. สถานี พระโขนง
16. สถานี อ่อนนุช
17. สถานี บางจาก
18. สถานี สุขุมวิท 101
19. สถานี อุดมสุข
20. สถานี บางนา
21. สถานี ลาซาล
22. สถานี สำโรง
23. สถานี พระประแดง
24. สถานี ช้างสามเศียร
25. สถานี อุดมเดช
26. สถานี ศาลากลาง
27. สถานี ศรีนครินทร์
28. สถานี สมุทรปราการ


แผนการก่อสร้างเริ่มต้นและแล้วเสร็จ

- ช่วงอ่อนนุช-สำโรง เบื้องกำหนดจะเริ่มก่อสร้างปลายปี 2547 แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม2550

- ช่วงสำโรง-สมุทรปราการ จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2548 แล้วเสร็จในเดือนมกราคม2552

- ช่วงพระราม 1-พรานนก จะเริ่มก่อสร้างในเดือนเมษายน 2549 แล้วเสร็จในเดือนเมษายน2553

ความคืบหน้า การก่อสร้างไม่เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด เนื่องจากขณะนี้ยังติดขัดในเรื่องของการเจรจาซื้อคืนสัมปทานการ เดินรถจากบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ตามแนวคิดของรัฐบาลที่ยังหาข้อยุติในเรื่องของ แนวทางและราคาในการซื้อคืนได้ ส่งผลให้การดำเนินงานคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งยังไม่สามารถระบุได้ แน่ชัดว่าจะเริ่มดำเนินการได้เมื่อใด

************************************************

2.โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม (สะพานใหม่-บางหว้า)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : กรุงเทพมหานคร (กทม.)

แนวเส้นทาง : เป็นส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสายสุขุมวิท รวมระยะทาง 19 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงสะพานใหม่-บางหว้า เป็นการก่อสร้างส่วนต่อขยายเพิ่มเติมทั้งในด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ สำหรับด้าน ทิศเหนือ จะเป็นช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ ระยะทาง 12 กิโลเมตรโดยจะก่อสร้าง เป็นโครงสร้างทางยกระดับ จะเริ่มต่อขยายเส้น ทางที่สถานีหมอชิต ข้ามแยกลาดพร้าววิ่งไปตามถนนพหลโยธินผ่านแยกรัชโยธิน สะพานข้ามแยกเกษตร และวิ่งผ่านหลักสี่ ไปจนถึงบริเวณสะพานใหม่

- ช่วงสะพานตากสิน-เพชรเกษม เป็นการก่อสร้างส่วนต่อขยายเพิ่มเติมในด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย ช่วงสะพานตากสิน-ถนนตากสิน ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร และช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร โดยตลอดแนวสายทางจะเป็นโครงสร้างทางยกระดับ เชื่อมต่อเส้นทางเดิมของรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่สถานีสะพานตากสิน วิ่งข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปตามถนนกรุงธนบุรี ผ่านถนนตากสิน ถนนรัชดาภิเษก ถนนวุฒากาศ ถนนแยกตากสิน-เพชรเกษม จนสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม

รูปแบบโครงการ

- ช่วงจากหมอชิต-สะพานใหม่ เป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอด ข้ามแยกลาดพร้าว ไปตามถนนพหลโยธิน ซึ่งเป็นถนน 6 ช่องจราจรแบบมีเกาะกลาง ไปจนถึงบริเวณสะพานใหม่

- ช่วงจากสะพานตากสิน-ถนนตากสิน-เพชรเกษม จะเป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอด ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ไปตาม ถนนกรุงธนบุรีและวิ่งขนานไปตามแนวถนนตากสิน-เพชรเกษม ไปจนถึงถนนเพชรเกษม โดยปัจจุบันได้ดำเนินการก่อสร้างไป แล้ว ในช่วงจากสถานีตากสิน-ถนนตากสิน

สถานีขึ้น-ลง รูปแบบสถานีจะมีทั้งแบบชานชาลากลาง และชานชาลาด้านข้าง โดยแต่ละสถานีจะมีระยะห่างกัน 1 กิโลเมตร ต่อสถานี รวมทั้งสิ้น 15 สถานี แบ่งเป็น

สถานีขึ้น-ลง ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ มีจำนวน 10 สถานี ได้แก่

1.สถานี ดอนเมือง
2.สถานี สะพานใหม่
3.สถานี รามอินทรา
4.สถานี บางบัว
5.สถานี ศรีปทุม
6.สถานี เกษตร
7.สถานี เสนานิคม
8.สถานี รัชโยธิน
9.สถานี แดนเนรมิต
10.สถานี ลาดพร้าว

สถานีขึ้น-ลงช่วงตากสิน-เพชรเกษม-บางหว้า มีจำนวน 5 สถานี ได้แก่

1.สถานี วงเวียนใหญ่
2.สถานี ท่าพระ
3.สถานี ศูนย์ตากสิน
4.สถานี ภาษีเจริญ
5.สถานี บางหว้า

แผนการก่อสร้าง

- ช่วงสะพานตากสิน-ถนนตากสิน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547 และกำหนดก่อสร้างแล้วเสร็จใน เดือนพฤศจิกายน 2548

- ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ จะเริ่มก่อสร้างได้ในเดือนสิงหาคม 2548 กำหนดแล้วเสร็จในเดือน พฤศจิกายน 2551

- ช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม จะเริ่มก่อสร้างได้ในเดือนกันยายน 2548 และคาดว่าจะแล้วเสร็จใน เดือนเมษายน 2550

ความคืบหน้า การก่อสร้าง ส่วนต่อขยายสายสีลม ช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร ได้ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเสร็จแล้ว เหลือเพียงแค่การดำเนินการวางรางและ จัดหาผู้เดินระบบรถไฟฟ้า พร้อมทั้งทำการก่อสร้างส่วนที่เหลือให้แล้วเสร็จ ส่วนที่เหลือนั้นการก่อสร้างไม่ได้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด เนื่องจากขณะนี้ยังติดขัดในเรื่องของการเจรจาซื้อคืนสัมปทานการ เดินรถ จากบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ตามแนวคิดของรัฐบาลที่ยังหาข้อยุติในเรื่องของแนวทางและราคาในการซื้อคืนได้จึงส่งผล ให้การดำเนินงานคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งยังไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่าจะเริ่มดำเนินการได้เมื่อใด

************************************************


3.โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (วงแหวนรอบในและช่วงท่าพระ-บางแค)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง เป็นการพัฒนาระบบเพิ่มเติมจากแนวเส้นทางรถไฟฟ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ เป็นการต่อขยายเส้นทางจากช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ ให้สามารถเดินรถได้ในลักษณะเป็นวงรอบ เริ่มจากสถานีหัวลำโพงเป็นโครงสร้างอุโมงค์ไปตามแนวถนนเจริญกรุงเลี้ยวซ้ายเข้าแนวถนนสนามไชย ลอด เกาะรัตนโกสินทร์และลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา แล้วจะเริ่มยกระดับขึ้นเป็นโครงสร้างยกระดับบริเวณสี่แยกท่าพระ

- ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ เป็นการต่อขยายเส้นทางจากช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ ให้สามารถเดินรถได้ในลักษณะเป็นวงรอบ ซึ่งจะเริ่มจากสถานีบางซื่อแล้วยกระดับขึ้นมาเป็นโครงสร้างยกระดับตามแนว ถนนประชาราษฎร์สาย 2 จนข้าม แม่น้ำเจ้าพระยาแล้วเลี้ยวลงมาตามแนว ถนนจรัญสนิทวงศ์ และวิ่งยกระดับไปจนถึงสี่แยกท่าพระ

- ช่วงท่าพระ-บางแค เป็นการต่อขยายเส้นทางโดยเริ่มจากสถานีท่าพระ เป็นโครงสร้างยกระดับไปตามแนวถนนเพชรเกษม โดยตลอดจนถึงถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก) บริเวณบางแค

รูปแบบโครงการ: แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 3 ช่วง คือ

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร ตลอดแนวเส้นทางจะก่อสร้างเป็นทางยกระดับและอุโมงค์ใต้ดิน โดยที่เป็นโครงสร้างอุโมงค์ใต้ดินมีระยะทาง 4.792 กิโลเมตร โครงสร้างยกระดับ 1.708 กิโลเมตร

- ช่วงท่าพระ-บางแค ระยะทาง 7.6 กิโลเมตร แนวเส้นทางการก่อสร้างเป็นทางยกระดับไปตามแนวถนนเพชร- เกษมจนถึงถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันออก) บริเวณบางแค

- ช่วงจากบางซื่อ-ท่าพระ (สะพานพระนั่งเกล้า) ระยะทาง 13.1 กิโลเมตร การก่อสร้างเป็นงทางยกระดับ ตลอด แนวเส้นทาง

สถานีขึ้น-ลง รูปแบบของสถานีมีทั้งแบบชานชาลากลา และชานชาลาด้านข้าง มีจุดขึ้น-ลงสถานีรวม 10 สถานี คือ

สถานีใต้ดิน 4 สถานี ได้แก่

1.สถานี วัดมังกร
2.สถานี วังบูรพา
3.สถานี ปากคลองตลาด
4.สถานี บางกอกใหญ่

สถานียกระดับ 6 สถานี ได้แก่

1.สถานี ท่าพระ
2.สถานี บางไผ่
3.สถานี บางหว้า
4.สถาน ภาษีเจริญ
5.สถานี บางแค
6.สถานี หลักสอง

แผนการก่อสร้าง แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 และแล้วเสร็จประมาณเดือน พฤศจิกายน 2552

- ช่วงท่าพระ-บางแค จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนตุลาคม 2551

- ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ จะเริ่มก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2549 แล้วเสร็จประมาณเดือนธันวาคม 2552

ความคืบหน้า : คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินงานตามแผนงานต่อไป


************************************************

4.โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่-ราษฎร์บูรณะ)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง : ระยะทางรวมทั้งสิ้น 43 กิโลเมตร แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ ระยะทาง 23 กิโลเมตร เริ่มจากบริเวณสถานีบางซื่อยกระดับไปตาม แนวถนนไปยังสถานีเตาปูน สถานีวงศ์สว่าง สถานีนครินทร์ สถานีเรวดี สถานแครายสถานีศรีพรสวรรค์ สถานีแยกถนนนนทบุรี 1 สถานีพระนั่งเกล้า สถานีไทรม้า สถานีท่าอิฐ สถานีบางรัก ใหญ่สถานีบางบัวทอง สถานีคลองบางแพรก สถานีสามแยกบางใหญ่ สถานีตลาดบางใหญ่ และสถานีคลองบางไผ่เป็นสถานีสุดท้าย และเป็นที่ตั้งของศูนย์ ซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้า

- ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ จากบางซื่อ-สามเสนเป็นโครงสร้างยกระดับต่อเนื่องมาตามถนนประชา-ราษฎร์ และเริ่มลดระดับลงใต้ดิน เป็นโครงสร้างอุโมงค์เปลี่ยนมาเข้าแนวถนนประชาราษฎร์สาย 1 ต่อเนื่องมาถึงถนนสามเสน เลี้ยวเข้าถนนพระสุเมรุ ถนนมหาไชย ถนนจักรเพชร แล้วเบี่ยงแนวออกเพื่อหลบสะพานพระปกเกล้า ลอดใต้ แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่แนวถนนประชาธิปก ต่อเนื่องมาถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ถนนสุขสวัสดิ์ และเริ่มยกระดับขึ้นมา เมื่อเลยแยกบางปะแก้วแล้ว ไปจนถึงบริเวณราษฎร์บูรณะ

รูปแบบโครงการ โครงสร้างทางวิ่งจะเป็นโครงสร้างยกระดับทั้งหมดตลอดสาย โดยใช้พื้นที่บริเวณเกาะกลางถนน เป็นส่วนใหญ่

สถานีขึ้น-ลง

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ มีสถานีขึ้น-ลงจำนวน 16 สถานี แต่ละสถานีห่างกันประมาณ 1 กิโลเมตร ได้แก่

1.สถานีเตาปูน ก่อสร้างเป็นสถานียกระดับบริเวณสะพานสูงบางซื่อ ข้ามคลองเปรมประชากรไปตามแนวถนนประชาราษฎร์ เป็นสถานีร่วมกับรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงบางซื่อ - ท่าพระ

2. สถานีวงศ์สว่าง ผ่านสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนถึงซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 39 บริเวณทางแยกตัดถนนวงศ์สว่าง

3.สถานีนครอินทร์ วิ่งตามถนนกรุงเทพ-นนท์ ถึงบริเวณทางแยกตัดถนนติวานนท์

4. สถานีเรวดี เลี้ยวขวาไปตามถนนติวานนท์ ผ่านทางเข้าโรงพยาบาลศรีธัญญาถึง บริเวณซอยติวานนท์ 5

5. สถานีแคราย เข้าสู่ถนนรัตนาธิเบศร์ ตั้งอยู่หน้าศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี

6. สถานีศรีพรสวรรค์ อยู่บริเวณซอยรัตนาธิเบศร์ 28

7.สถานีแยกถนนนนทบุรี 1 บริเวณก่อนซอยรัตนาธิเบศร์ 30 ซึ่งสถานีนี้จะมีที่จอดแล้วจร

8.สถานีพระนั่งเกล้า แนววิ่งจะเริ่มเบนออกขวาจากกลางถนนเพื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีโครงสร้างทางวิ่งขนาน ไปกับสะพานพระนั่งเกล้า จะเป็นสถานีเชื่อมต่อกับการขนส่งทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา

9. สถานีไทรม้า เบี่ยงเข้าสู่กึ่งกลางถนนรัตนาธิเบศร์ และวิ่งตรงถึงบริเวณหน้าหมู่บ้านซื่อตรง

10. สถานีท่าอิฐ บริเวณก่อนถึงแยกท่าอิฐ

11. สถานีบางรักใหญ่ บริเวณทางเข้าวัดบางรักใหญ่

12. สถานีบางบัวทอง บริเวณก่อนถึงแยกตัดกับถนนบางกรวย - บางบัวทอง

13.สถานีคลองบางแพรก บริเวณคลองบางแพรก

14.สถานีสามแยกบางใหญ่ บริเวณหน้าหมู่บ้านกฤษดานคร 10 ก่อนถึงแยกถนนวงแหวนรอบนอก

15.สถานีตลาดบางใหญ่ เลี้ยวขวาบริเวณทางแยกและวิ่งไปตามแนวกึ่งกลางของถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) ถึงบริเวณโรงพยาบาลเกษมราษฎร์

16. สถานีคลองบางไผ่ (บริเวณคลองบางไผ่) เป็นสถานีสุดท้าย และเป็นที่ตั้งของศูนย์ซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้า รวมทั้งเป็นอาคารจอดแล้วจร

- จุดที่ตั้งสถานีช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ มีสถานีขึ้น-ลง 18 สถานี ได้แก่

1.สถานี บางโพ
2.สถานี ศรีย่าน
3.สถานี กรมชลฯ
4.สถานี สามเสน
5.สถานี หอสมุดแห่งชาติ
6.สถานี พระสุเมรุ
7.สถานี ราชดำเนิน
8.สถานี เจริญกรุง
9.สถานี วังบูรพา
10.สถานี สะพานพระปกเกล้า
11.สถานี วงเวียนใหญ่
12.สถานี สำเหร่
13.สถานี มไหสวรรค์
14.สถานี จอมทอง
15.สถานี ดาวคะนอง
16.สถานี บางปะกอก
17.สถานี ประชาอุทิศ
18.สถานี ราษฎร์บูรณะ


แผนการก่อสร้าง

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ จะคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการยื่นข้อเสนอประกวดราคา ประมาณเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2548 หลังจากนั้นจะมีการประกาศเชิญชวน และจัดทำข้อเสนอราคาในเดือนมิถุนายน 2548 และจะสามารถประเมินข้อเสนอเจรจาต่อรองขออนุมัติและลงนามในสัญญาได้ภายในเดือนสิงหาคม 2548 จึงสามารถเริ่มการก่อสร้างได้ โดยใช้เวลาในการก่อสร้างประมาณ 32 เดือน โดยจะสามารถเปิดให้บริการได้ประมาณปลายปี 2551

-ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ คาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้ในปี 2553

ความคืบหน้า

- ช่วงบางชื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ ขณะนี้อยู่ระหว่างศึกษาออกแบบรายละเอียดเส้นทาง และมีแนวเวนคืนตาม พระราชกฤษฎีกาออกมาแล้ว หลังจากนั้นจะมีการสำรวจรายละเอียดของอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเขตทางคาดว่าจะใช้เวลา 4 เดือน และจะมีการดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 16 เดือน รฟม. ได้ลงนามสัญญาว่า จ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา AEC ศึกษาความเหมาะสม ออกแบบรายละเอียด และจัดทำเอกสารประกวดราคาโครงการ ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง บางใหญ่-ราษฎร์บูรณะ ช่วงบางใหญ่-บางซื่อ ขณะนี้บริษัทที่ปรึกษาได้ดำเนินงาน มีความคืบหน้า เช่น งานสำรวจและจัดทำแผนที่แสดง ภูมิประเทศ เขตที่ดิน และสาธารณูปโภค งานออกแบบแนวเส้นทาง งานออกแบบรายละเอียดด้านสถา-ปัตยกรรมและวิศวกรรมของสถานี เป็นต้น ซึ่ง รฟม. และบริษัทที่ปรึกษาจะนำผล การศึกษาต่างๆ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบอย่างต่อเนื่องและมีแผนการดำเนินงานในเรื่องการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและด้านชุมชนสัมพันธ์ ดังนี้

1.การจัดประชุมครั้งที่ 1 เพื่อปฐมนิเทศโครงการ เพื่อเป็นการแนะนำและชี้แจงข้อมูลรายละเอียดโครงการพร้อม ทั้งรับฟังความคิดเห็นต่างๆ โดยจะมีผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาประมาณ 100 คน จากส่วนราชการต่างๆ ในพื้นที่จังหวัด นนทบุรีครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอที่แนวเส้นทางโครงการพาดผ่าน ได้แก่ อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางใหญ่ และ อำเภอบางบัวทอง ผู้นำส่วนท้องถิ่น ผู้แทนจากภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในเดือนมีนาคม 2548 ผลที่ได้จากการประชุม สัมมนาครั้งนี้จะนำมาประมวลวิเคราะห์และสรุปประเด็นข้อคิดเห็น เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการดำเนินการ ศึกษาและออกแบบราย ละเอียดในโครงการให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

2.จัดประชุมสัมมนากลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 30-40 คน เดือนมีนาคม-เมษายน 2548 เพื่อเป็นการสำรวจทัศนคติ และประชาสัมพันธ์รายละเอียดข้อมูลโครงการ สร้างความเข้าใจและการรับรู้ โดยจะแบ่งการสัมมนากลุ่มย่อยตลอด แนวเส้นทางโครงการออกเป็น 5 กลุ่ม คือ

- ชุมชนบริเวณย่านสถานีบางซื่อ
- ชุมชนบริเวณ กม . ที่ 17 ถึงสี่แยกแคราย
- กลุ่มผู้แทนจากเทศบาลนครนนทบุรี อบต.ไทรม้า และ อบต.บางรักน้อย
- กลุ่มผู้แทนจาก อบต.บางเลน และเสาธงหิน
- กลุ่มผู้แทนจาก อบต.โสนลอย บางรักใหญ่ บางรักพัฒนา และพิมลราช


3.การประชุมสัมมนาครั้งที่ 2 จะจัดขึ้นประมาณ เดือนพฤษภาคม 2548 หลังจากที่บริษัทที่ปรึกษาได้ศึกษาผล กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการแล้วเสร็จ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง มาตรการในการจัดการกับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะและปัญหาต่างๆ โดย จะมีผู้แทนจากส่วนราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภาคเอกชนและสื่อมวลชนเข้าร่วมประชุมประมาณ 200 คน นอก จากการจัดประชุมสัมมนาดังกล่าวข้างต้นแล้ว รฟม. จะร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาจัดนิทรรศการตามหน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน เพื่อเผยแพร่รายละเอียดและข้อมูลโครงการสู่สาธารณชนเป็นระยะๆ ตามสถานที่ ดังนี้

- ปลายเดือนมีนาคม - ต้นเดือนเมษายน 2548 จะจัดนิทรรศการในงาน "วัฒนธรรมสองฝั่งเจ้าพระยาใต้ฟ้านนท์ " ซึ่งเป็นกิจกรรมประจำปีของจังหวัดนนทบุรี ที่วัดเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเมือง นนทบุรี
- งาน " บางใหญ่แฟร์ " ที่ศูนย์ราชการอำเภอบางใหญ่ และตลาดบางใหญ่ซิตี้


- ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ อยู่ระหว่างดำเนินการศึกษาออกแบบรายละเอียดโครงการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย กองประชาสัมพันธ์ โทร. 0-2246 5733, 0-2246 5744 ต่อ 116, 121 โทรสาร 0 2246 2099, 0 2246 3687 www.mrta.co.th

************************************************

5.โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (บางกะปิ-บางบำหรุ)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)

แนวเส้นทาง : เป็นการพัฒนาระบบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) รวมระยะทาง 24 กิโลเมตร แยกเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้

- ช่วงจากบางกะปิ-สามเสน ระยะทาง 19.8 กิโลเมตร เริ่มต้นบริเวณบางกะปิ เป็นโครงสร้างอุโมงค์ลอดใต้แยกลำสาลี ไปตามแนวถนนรามคำแหง เข้าถนนพระราม 9 ผ่านคลองลาดพร้าว วิ่งต่อเนื่องไปตามถนนดินแดง ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผ่านถนนราชวิถี ไปจนถึงบริเวณสามเสน

- ช่วงจากสามเสน-บางบำหรุ ระยะทาง 4 กิโลเมตร เป็นการต่อขยายเส้นทางที่มาจากบางกะปิ โดยเริ่มจากสามเสน ซึ่ง ยังเป็นโครงสร้างอุโมงค์มุดลอดแม่น้ำเจ้าพระยา ไปตามแนวสะพานกรุงธน และจะเริ่มปรับเป็นโครงสร้างยกระดับ เมื่อพ้น แนวถนนจรัญสนิทวงศ์ไปแล้ว จากนั้นวิ่งไปตามแนวถนนสิรินธร จนไปเชื่อมกับแนวรถไฟสายใต้ บริเวณสถานีบางบำหรุ

รูปแบบโครงการ :โครงสร้างจะมีทั้งแบบอุโมงค์ใต้ดินและโครงสร้างยกระดับเหนือเกาะ กลางถนน

สถานีขึ้น-ลง : รูปแบบของสถานีจะมีทั้งแบบชานชาลากลางและชานชาลาด้านข้าง ทั้งนี้คาดว่าจะมีที่จอดรถยนต์ (Park and Ride) สำหรับผู้มาใช้บริการที่บริเวณบางกะปิ ซึ่งจากการศึกษาในเบื้องต้นตลอดแนวสาร ทางนี้จะประกอบด้วยจุดขึ้น-ลง ประมาณ 13 สถานี ได้แก่

1.สถานี บางบำหรุ
2.สถานี สิริธร
3.สถานี สะพานกรุงธน
4.สถานี สามเสน (เขาดิน)
5.สถานี อนุสาวรีย์
6.สถานี ดินแดง(ประชาสงเคราะห์)
7.สถานี ศูนย์วัฒนธรรม
8.สถานี ห้วยขวาง
9.สถานี นวศรี
10.สถานี รามคำแหง
11.สถานี สนามกีฬาหัวหมาก
12.สถานี สถานีลำสาลี
13.สถานี บางกะปิ

แผนการก่อสร้าง

-ช่วงบางกะปิ-สามเสน จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 และแล้ว เสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2552

-ช่วงสามเสน-บางบำหรุ จะเริ่มก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2549 แล้วเสร็จประมาณ เดือนมีนาคม2553

ความคืบหน้า : คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินงานตามแผนงานต่อไป

************************************************

6.โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม (รังสิต-มหาชัย)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากบริเวณสถานีรถไฟรังสิต สถานีดอนเมือง สถานีบางซื่อ ยกระดับข้ามแยกยมราช ผ่านแยกกษัตริย์ศึก หัวลำโพง วิ่งออกมาตามแนวถนนพฤฒาราม ผ่านริมคลองผดุงกรุงเกษม และข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณ ใกล้ศูนย์การค้า ริเวอร์ซิตี้ เพื่อมาเข้าแนวถนนลาดหญ้า และเลี้ยวออกไปบนแนวถนนเจริญรัถ เพื่อหลบอนุสาวรีย์พระเจ้าตากสิน จากนั้นวิ่ง ข้ามถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน เพื่อเข้าไปตามทางรถไฟสายแม่กลองเดิม แล้วลดระดับลงสู่ระดับดินที่บริเวณ ตลาดพลู และวิ่งตามไปตาม แนวทางรถไฟเดิมจนถึงมหาชัย ระยะทาง 65 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ โครงสร้างยกระดับตามแนวเส้นทางรถไฟเดิมของการรถไฟฯ ที่เปิดดำเนินการเดินรถในปัจจุบัน ทั้งสายเหนือ สายตะวันออก สายใต้ และสายแม่กลอง แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 4 ช่วง คือ ช่วงบางซื่อ-รังสิต ระยะทาง 22.7 กิโลเมตร ช่วงบางซื่อ-หัวลำโพง ระยะทาง 7.5 กิโลเมตร ช่วงหัวลำโพง-ศูนย์ตากสิน ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร และช่วงศูนย์ตากสิน-มหาชัย ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร

สถานีขึ้น-ลง ในเบื้องต้นได้ทำการออกแบบจุดขึ้น-ลง สถานีตลอดแนวสายทางไว้ทั้งสิ้น 35 สถานี ประกอบด้วย

1. สถานี รังสิต
2. สถานี เมืองเอก
3. สถานี ดอนเมือง
4. สถานี การเคหะ
5. สถานี หลักสี่
6. สถานี นอร์ทปาร์ค
7. สถานี งามวงศ์วาน
8. สถานี ประชานิเวศน์
9. สถานี หมอชิต
10. สถานี ศูนย์พหลโยธิน
11. สถานี กำแพงเพชร
12. สถานี ประดิพัทธิ์
13. สถานี สามเสน
14. สถานี รพ.รามาธิบดี
15. สถานี ยมราช
16. สถานี พญาไท
17. สถานี มหานาค
18. สถานี สนามกีฬา
19.สถานี หัวลำโพง
20.สถานี สามย่าน
21.สถานี ตลาดน้อย
22.สถานี คลองสาน
23.สถานี วงเวียนใหญ่
24.สถานี ตลาดพลู
25.สถานี ท่าพระ
26.สถานี ศูนย์ตากสิน
27.สถานี จอมทอง
28.สถานี วัดสิงห์
29.สถานี บางบอน
30.สถานี รางสะแก
31.สถานี รางโพ
32.สถานี สามแยก
33.สถานี พรหมแดน
34.สถานี มหาชัยเมืองใหม่
35สถานี มหาชัย

แผนการก่อสร้าง

- ช่วงบางซื่อ-รังสิต เริ่มก่อสร้างเดือนกุมถาพันธ์ 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนสิงหาคม 2551

- ช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ เริ่มก่อสร้างประมาณเดือนเมษายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือน ตุลาคม 2551

-ช่วงหัวลำโพง-ศูนย์ตากสิน เริ่มก่อสร้างเดือนมิถุนายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนมิถุนายน 2552

-ช่วงศูนย์ตากสิน-มหาชัย เริ่มก่อสร้างประมาณเดือนมิถุนายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือน มิถุนายน 2552

ความคืบหน้า : อยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบรายละเอียดแนวเส้นทาง

************************************************

7.โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน (ตลิ่งชัน-สุวรรณภูมิ)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)

แนวเส้นทาง แบ่งออกเป็น 2 ช่วง

- ช่วงจากยมราช-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ เป็นแนวเส้นทางรถไฟสายตะวันออกในปัจจุบัน เริ่ม จากบางซื่อ หัวลำโพง ผ่าน แยกกษัตริย์ศึก และเริ่มยกระดับข้ามแยกยมราชวิ่งขนานไปตามแนวถนนเพชรบุรี ผ่านถนนศรีนครินทร์ ถนนกรุงเทพกรีฑา และเริ่มลดระดับลงสู่พื้นดิน ไปจนถึงสถานีลาดกระบัง และยกระดับอีกครั้ง ข้ามถนนอ่อนนุช เพื่อจะเข้าสู่สนามบินสุวรรณภูมิ จากนั้นลดระดับลงสู่พื้นดินและลง ใต้ดินเพื่อเข้าสู่สนามบิน ระยะทาง 6.1 กิโลเมตร

- ช่วงจากบางซื่อ-ตลิ่งชัน-วงแหวนรอบนอก เป็นแนวเส้นทางรถไฟสายตะวันตกในปัจจุบัน เริ่มออกจากบางซื่อไปตาม ทางรถไฟเดิม และเริ่มยกระดับเพื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา และจะลดลงสู่ระดับดิน เมื่อข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์แล้ว จากนั้นก็จะ วิ่งระดับดินไปโดยตลอด ระยะทาง 14.9 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ

- ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน และ ช่วงบางซื่อ-พญาไท จะเป็นแนวเส้นทางเดียวกับเส้นทางรถไฟสาย ตะวันตกในปัจจุบัน โดย ระหว่างบริเวณจากบางซื่อ-วงแหวนรอบนอก จะมีจำนวนราง 2 ราง มีเขตทาง กว้างประมาณ 80 เมตร

- ช่วงพญาไท-มักกะสัน-สุวรรรณภูมิ ช่วงนี้จะเป็นแนวเส้นทางเดียวกับเส้นทางรถไฟสาย ตะวันออกในปัจจุบัน โดย ระหว่างบริเวณยมราช-หัวหมาก จะมีราง 1 รางจากหัวหมาก-ลาดกระบัง มี 3 ราง มีเขตทางกว้างประมาณ 40 เมตร

สถานีขึ้น-ลง : จำนวน 23 สถานี ได้แก่

1.สถานี ตลิ่งชัน
2.สถานี บางบำหรุ
3.สถานี บางพลัด
4.สถานี บางซ่อน
5.สถานี วงศ์สว่าง
6.สถานี หมอชิต
7.สถานี ศูนย์พหลโยธิน
8.สถานี ประดิพัทธ
9.สถานี สามเสน
10.สถานี ร.พ. รามาธิบดี
11.สถานี ยมราช
12.สถานี พญาไท
13.สถานี ราชปรารภ
14.สถานี มักกะสัน
15.สถานี ศูนย์วิจัย
16.สถานี คลองตัน
17.สถานี เสรี
18.สถานี รามคำแหง
19.สถานี หัวหมาก
20.สถานี กรุงเทพกรีฑา
21.สถานี บ้านทับช้าง
22.สถานี ลาดกระบัง
23.สถานี สุวรรณภูมิ

แผนการก่อสร้าง เบื้องต้นคาดว่าจะเริ่มการก่อสร้างใน

- ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน ได้ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2548 แล้วเสร็จพร้อมเปิดให้ใช้บริการได้ประมาณเดือนสิงหาคม 2551

- ช่วงบางซื่อ-พญาไท คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือน เมษายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนตุลาคม 2551

- ช่วงพญาไท-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ คาดว่าจะเริ่มดำเนินการก่อสร้างได้ในเดือนเมษายน 2548 แล้วเสร็จพร้อมเปิดให้ใช้ บริการได้ประมาณเดือนตุลาคม 2551 มูลค่าการลงทุนรวม 54,111 ล้านบาท

ความคืบหน้า ได้มีการลงนามในสัญญาว่าจ้างก่อสร้างโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (Airport Rail Link) กับบริษัท บี.กริม อินเตอร์เน ชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีเมนส์ จำกัด บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) คาดว่าจะลงมือก่อสร้างได้ประมาณปลายเดือน กุมภาพันธ์ 2548

************************************************

8.โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ปากเกร็ด-แจ้งวัฒนะ-หลักสี่-รามอินทรา-สุวินทวงศ์)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากถนนแจ้งวัฒนะบริเวณห้าแยกปากเกร็ด วิ่งไปตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ ผ่านเมืองทองธานี พหลโยธิน-หลักสี่ เข้าสู่ถนนรามอินทรา ไปมีนบุรี จากนั้นวิ่งเข้าสู่ถนนสุวินทวงศ์ ตัดผ่านถนนสามวา ถนนร่มเกล้า และถนนนิมิตรใหม่ สิ้น สุดที่มีนบุรี และในอนาคตจะมีการขยายเส้นทางเพื่อไปเชื่อมต่อกับโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิด้วย โดยผ่านทางถนนร่มเกล้า เข้าสนามบินสุวรรณภูมิ รวมระยะทาง 41 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ: จะก่อสร้างเป็นโครงสร้างทางยกระดับตลอดแนวสายทางบนเกาะกลางถนน เป็นรถไฟฟ้าขนาดเบาได้ ซึ่ง จะมีค่าใช้จ่ายถูก และสามารถก่อสร้างได้ในเวลาอันรวดเร็ว

สถานีขึ้น-ลง จำนวน 13 สถานี ได้แก่

1. สถานี ปากเกร็ด (อยู่ตรงห้าแยกปากเกร็ด)
2. สถานี เมืองทองธานี (ปากทางเข้าเมืองทองฯ)
3. สถานี แจ้งวัฒนะ (ตรงตัดกับทางด่วน)
4. สถานี ประชาชื่น(จุดตัดถนนแจ้งวัฒนะกับประชาชื่น)
5. สถานี รถไฟหลักสี่
6. สถานี วัดพระศรีมหาธาตุ (อนุสาวรีย์หลักสี่)
7. สถานี ลาดปลาเค้า
8. สถานี วัชรพล
9. สถานี นวมินทร์
10. สถานี บริเวณจุดตัดวงแหวนรอบนอก ด้านตะวันออก
11. สถานี พระยาสุเรนทร์ (ถนนสวนสยาม)
12. สถานี หทัยราษฎร์
13. สถานี นิมิตรใหม่ (มีนบุรี)

แผนการก่อสร้าง โครงการนี้ยังเป็นแนวคิดเบื้องต้น ต้องทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ จากนั้นจึงจะสรุปราย ละเอียดทั้งหมดแล้วนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่ เพื่อขออนุมัติดำเนินการต่อไป ซึ่งจะเร่งดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายใน 6 ปี เช่นเดียวกับโครงข่ายรถไฟฟ้า 7 สายก่อนหน้านี้

ความคืบหน้า อยู่ระหว่างทำการศึกษาในรายละเอียดความเหมาะสม แนวเส้นทางที่ชัดเจน จำนวนผู้โดยสารที่แน่นอน ความ เหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ ราคาค่าก่อสร้างที่แน่ชัด ระบบการเดินรถที่จะต้องใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บท โดยรวมที่ มีอยู่แล้ว

************************************************

9.โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-รัชดาภิเษก-บางกะปิ- ศรีนครินทร์-เทพารักษ์-สำโรง)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากสำโรง บริเวณจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนเทพารักษ์ (จุดตัดกับรถไฟฟ้าบีทีเอสที่จะต่อขยายเพิ่ม เติม) มาตามแนวถนนเทพารักษ์ เลี้ยวเข้าถนนศรีนครินทร์ มาตามแนวถนนศรีนครินทร์ ตัดผ่านถนนบางนา-ตราด อ่อนนุช-ลาด กระบัง (สุขุมวิท 77) ถนนพัฒนาการ ผ่านบริเวณแยกลำลาสี บางกะปิ มุ่งหน้าเข้าสู่ถนนลาดพร้าว มาตามแนวถนนลาดพร้าว สิ้นสุดที่บริเวณถนนลาดพร้าวตัดกับถนนรัชดาภิเษก (สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน) รวมระยะทาง 32 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ เส้นนี้จะเป็นโครงสร้างใต้ดินในช่วงถนนลาดพร้าว หลังจากนั้นจะเป็นทางยกระดับบนเกาะกลาง ถนนในเส้นทางส่วนที่เหลือ

สถานีขึ้น-ลง จำนวน 18 สถานี ได้แก่

1. สถานี สำโรง (บริเวณจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนเทพารักษ์)
2. สถานี บริเวณจุดตัดถนนเทพารักษ์กับถนนศรีนครินทร์
3. สถานี กึงกลางระหว่างถนนเทพารักษ์กับถนนบางนา-ตราด (ก่อนถึงซอยลาซาล)
4. สถานี จุดตัดกับถนนศรีนครินทร์กับถนนบางนา-ตราด
5. สถานี บริเวณปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท 103)
6. สถาน บริเวณปากซอยสุขุมวิท 101
7. สถานี บริเวณจุดตัดกับถนนสุขุมวิท 77 (อ่อนนุช-ลาดกระบัง)
8. สถานี บริเวณจุดตัดกับมอเตอร์เวย์ ใกล้กับถนนพัฒนาการ
9. สถานี บริเวณจุดตัดกับถนนกรุงเทพกรีฑา
10. สถานี ก่อนถึงแยกลำสาลี
11. สถาน บางกะปิ
12. สถานี ซอยลาดพร้าว 122
13. สถานี ลาดพร้าว 101
14. สถานี ลาดพร้าว 81 (บิ๊กซี)
15. สถานี ลาดพร้าว 71
16. สถานี ซอยโชคชัย 4
17. สถานี ซอยลาดพร้าว 48
18. สถานี ลาดพร้าวตัดกับรัชดาภิเษก (รถไฟฟ้าใต้ดิน)

แผนการก่อสร้าง โครงการนี้ยังเป็นแนวคิดเบื้องต้น ต้องทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ จากนั้นจึงจะสรุปรายละ เอียด ทั้งหมดแล้วนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่ เพื่อขออนุมัติดำเนินการต่อไป ซึ่งจะเร่งดำเนินการให้ แล้วเสร็จภายใน 6 ปี เช่นเดียวกับโครงข่ายรถไฟฟ้า 7 สายก่อนหน้านี้

ความคืบหน้า อยู่ระหว่างทำการศึกษาในรายละเอียดความเหมาะสม แนวเส้นทางที่ชัดเจน จำนวนผู้โดยสารที่แน่นอน ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ ราคาค่าก่อสร้างที่แน่ชัด ระบบการเดินรถที่จะต้องใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทโดย รวม ที่มีอยู่แล้ว
เส้นทางเดินของ รถไฟฟ้าใก้ลโครงการสิวารัตน์ บางบัวทอง

แนวเส้นทาง เป็นส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสายสุขุมวิท รวมระยะทาง 24 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงแรก จากอ่อนนุช-สำโรง-สมุทรปราการ มีจุดเริ่มต้นการก่อสร้างที่สถานีอ่อนนุชจากนั้นวิ่งไปตามถนนสุขุมวิทผ่านแยกบางนาไปทางสำโรงจนถึงสมุทรปราการ

- ช่วงสอง จากพระราม 1-ปิ่นเกล้า-จรัญสนิทวงศ์ มีจุดเริ่มต้นจากสถานีสนามกีฬาในแนวถนนบำรุงเมืองเข้าสู่แนวถนนราชดำเนินกลางและลอด ใต้แม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณเชิงสะพานปิ่นเกล้าไปจนถึงสถานีรถไฟธนบุรีแล้วเข้าสู่แนวถนนพรานนก จากนั้นจึงจะเริ่มยกระดับเมื่อเลยแยกพรานนก ไปจนถึงถนนจรัญสนิทวงศ์

รูปแบบโครงการ แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงอ่อนนุช-สำโรง ระยะทาง 8.9 กิโลเมตร โครงสร้างการก่อสร้างเป็นทางยกระดับตลอดแนวสายทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประมาณ 5.6 กิโลเมตร และมีแนวเขตทางอยู่ในพื้นที่สำโรงประมาณ 3.3 กิโลเมตร

- ช่วงสำโรง-สมุทรปราการ ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร เป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอดและ ช่วงพระราม 1-พรานนก (สามแยกไฟฉาย) ระยะทาง 6.8 กิโลเมตร โดยตลอดแนวสายทางจะมีโครงสร้างที่เป็นทั้งโครงสร้างยกระดับและโครงสร้างอุโมงค์

สถานีขึ้น-ลง : ผลการศึกษาในขั้นต้นระบุว่าจะมีการก่อสร้างสถานีรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 28 สถานี ทั้งแบบชานชาลากลาง และชานชาลาด้านข้าง ซึ่งแต่ละสถานีจะมีระยะห่างกัน 1 กิโลเมตรต่อสถานี ได้แก่

1. สถานี พรานนก
2. สถานี ศิริราช
3. สถานี หลานหลวง
4. สถานี ราชดำเนิน
5. สถานี มหานาค
6. สถานี สนามกีฬา
7. สถานี สยาม
8. สถานี ชิดลม
9. สถานี เพลินจิต
10. สถานี นานา
11. สถานี อโศก
12. สถานี พร้อมพงศ์
13. สถานี ทองหล่อ
14. สถานี เอกมัย
15. สถานี พระโขนง
16. สถานี อ่อนนุช
17. สถานี บางจาก
18. สถานี สุขุมวิท 101
19. สถานี อุดมสุข
20. สถานี บางนา
21. สถานี ลาซาล
22. สถานี สำโรง
23. สถานี พระประแดง
24. สถานี ช้างสามเศียร
25. สถานี อุดมเดช
26. สถานี ศาลากลาง
27. สถานี ศรีนครินทร์
28. สถานี สมุทรปราการ


แผนการก่อสร้างเริ่มต้นและแล้วเสร็จ

- ช่วงอ่อนนุช-สำโรง เบื้องกำหนดจะเริ่มก่อสร้างปลายปี 2547 แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม2550

- ช่วงสำโรง-สมุทรปราการ จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2548 แล้วเสร็จในเดือนมกราคม2552

- ช่วงพระราม 1-พรานนก จะเริ่มก่อสร้างในเดือนเมษายน 2549 แล้วเสร็จในเดือนเมษายน2553

ความคืบหน้า การก่อสร้างไม่เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด เนื่องจากขณะนี้ยังติดขัดในเรื่องของการเจรจาซื้อคืนสัมปทานการ เดินรถจากบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ตามแนวคิดของรัฐบาลที่ยังหาข้อยุติในเรื่องของ แนวทางและราคาในการซื้อคืนได้ ส่งผลให้การดำเนินงานคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งยังไม่สามารถระบุได้ แน่ชัดว่าจะเริ่มดำเนินการได้เมื่อใด



2.โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม (สะพานใหม่-บางหว้า)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : กรุงเทพมหานคร (กทม.)

แนวเส้นทาง : เป็นส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสายสุขุมวิท รวมระยะทาง 19 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงสะพานใหม่-บางหว้า เป็นการก่อสร้างส่วนต่อขยายเพิ่มเติมทั้งในด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ สำหรับด้าน ทิศเหนือ จะเป็นช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ ระยะทาง 12 กิโลเมตรโดยจะก่อสร้าง เป็นโครงสร้างทางยกระดับ จะเริ่มต่อขยายเส้น ทางที่สถานีหมอชิต ข้ามแยกลาดพร้าววิ่งไปตามถนนพหลโยธินผ่านแยกรัชโยธิน สะพานข้ามแยกเกษตร และวิ่งผ่านหลักสี่ ไปจนถึงบริเวณสะพานใหม่

- ช่วงสะพานตากสิน-เพชรเกษม เป็นการก่อสร้างส่วนต่อขยายเพิ่มเติมในด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย ช่วงสะพานตากสิน-ถนนตากสิน ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร และช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร โดยตลอดแนวสายทางจะเป็นโครงสร้างทางยกระดับ เชื่อมต่อเส้นทางเดิมของรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่สถานีสะพานตากสิน วิ่งข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปตามถนนกรุงธนบุรี ผ่านถนนตากสิน ถนนรัชดาภิเษก ถนนวุฒากาศ ถนนแยกตากสิน-เพชรเกษม จนสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม

รูปแบบโครงการ

- ช่วงจากหมอชิต-สะพานใหม่ เป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอด ข้ามแยกลาดพร้าว ไปตามถนนพหลโยธิน ซึ่งเป็นถนน 6 ช่องจราจรแบบมีเกาะกลาง ไปจนถึงบริเวณสะพานใหม่

- ช่วงจากสะพานตากสิน-ถนนตากสิน-เพชรเกษม จะเป็นโครงสร้างยกระดับโดยตลอด ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ไปตาม ถนนกรุงธนบุรีและวิ่งขนานไปตามแนวถนนตากสิน-เพชรเกษม ไปจนถึงถนนเพชรเกษม โดยปัจจุบันได้ดำเนินการก่อสร้างไป แล้ว ในช่วงจากสถานีตากสิน-ถนนตากสิน

สถานีขึ้น-ลง รูปแบบสถานีจะมีทั้งแบบชานชาลากลาง และชานชาลาด้านข้าง โดยแต่ละสถานีจะมีระยะห่างกัน 1 กิโลเมตร ต่อสถานี รวมทั้งสิ้น 15 สถานี แบ่งเป็น

สถานีขึ้น-ลง ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ มีจำนวน 10 สถานี ได้แก่

1.สถานี ดอนเมือง
2.สถานี สะพานใหม่
3.สถานี รามอินทรา
4.สถานี บางบัว
5.สถานี ศรีปทุม
6.สถานี เกษตร
7.สถานี เสนานิคม
8.สถานี รัชโยธิน
9.สถานี แดนเนรมิต
10.สถานี ลาดพร้าว

สถานีขึ้น-ลงช่วงตากสิน-เพชรเกษม-บางหว้า มีจำนวน 5 สถานี ได้แก่

1.สถานี วงเวียนใหญ่
2.สถานี ท่าพระ
3.สถานี ศูนย์ตากสิน
4.สถานี ภาษีเจริญ
5.สถานี บางหว้า

แผนการก่อสร้าง

- ช่วงสะพานตากสิน-ถนนตากสิน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547 และกำหนดก่อสร้างแล้วเสร็จใน เดือนพฤศจิกายน 2548

- ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ จะเริ่มก่อสร้างได้ในเดือนสิงหาคม 2548 กำหนดแล้วเสร็จในเดือน พฤศจิกายน 2551

- ช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม จะเริ่มก่อสร้างได้ในเดือนกันยายน 2548 และคาดว่าจะแล้วเสร็จใน เดือนเมษายน 2550

ความคืบหน้า การก่อสร้าง ส่วนต่อขยายสายสีลม ช่วงถนนตากสิน-เพชรเกษม ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร ได้ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเสร็จแล้ว เหลือเพียงแค่การดำเนินการวางรางและ จัดหาผู้เดินระบบรถไฟฟ้า พร้อมทั้งทำการก่อสร้างส่วนที่เหลือให้แล้วเสร็จ ส่วนที่เหลือนั้นการก่อสร้างไม่ได้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด เนื่องจากขณะนี้ยังติดขัดในเรื่องของการเจรจาซื้อคืนสัมปทานการ เดินรถ จากบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ตามแนวคิดของรัฐบาลที่ยังหาข้อยุติในเรื่องของแนวทางและราคาในการซื้อคืนได้จึงส่งผล ให้การดำเนินงานคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งยังไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่าจะเริ่มดำเนินการได้เมื่อใด




3.โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (วงแหวนรอบในและช่วงท่าพระ-บางแค)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง เป็นการพัฒนาระบบเพิ่มเติมจากแนวเส้นทางรถไฟฟ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ เป็นการต่อขยายเส้นทางจากช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ ให้สามารถเดินรถได้ในลักษณะเป็นวงรอบ เริ่มจากสถานีหัวลำโพงเป็นโครงสร้างอุโมงค์ไปตามแนวถนนเจริญกรุงเลี้ยวซ้ายเข้าแนวถนนสนามไชย ลอด เกาะรัตนโกสินทร์และลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา แล้วจะเริ่มยกระดับขึ้นเป็นโครงสร้างยกระดับบริเวณสี่แยกท่าพระ

- ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ เป็นการต่อขยายเส้นทางจากช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ ให้สามารถเดินรถได้ในลักษณะเป็นวงรอบ ซึ่งจะเริ่มจากสถานีบางซื่อแล้วยกระดับขึ้นมาเป็นโครงสร้างยกระดับตามแนว ถนนประชาราษฎร์สาย 2 จนข้าม แม่น้ำเจ้าพระยาแล้วเลี้ยวลงมาตามแนว ถนนจรัญสนิทวงศ์ และวิ่งยกระดับไปจนถึงสี่แยกท่าพระ

- ช่วงท่าพระ-บางแค เป็นการต่อขยายเส้นทางโดยเริ่มจากสถานีท่าพระ เป็นโครงสร้างยกระดับไปตามแนวถนนเพชรเกษม โดยตลอดจนถึงถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก) บริเวณบางแค

รูปแบบโครงการ: แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 3 ช่วง คือ

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร ตลอดแนวเส้นทางจะก่อสร้างเป็นทางยกระดับและอุโมงค์ใต้ดิน โดยที่เป็นโครงสร้างอุโมงค์ใต้ดินมีระยะทาง 4.792 กิโลเมตร โครงสร้างยกระดับ 1.708 กิโลเมตร

- ช่วงท่าพระ-บางแค ระยะทาง 7.6 กิโลเมตร แนวเส้นทางการก่อสร้างเป็นทางยกระดับไปตามแนวถนนเพชร- เกษมจนถึงถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันออก) บริเวณบางแค

- ช่วงจากบางซื่อ-ท่าพระ (สะพานพระนั่งเกล้า) ระยะทาง 13.1 กิโลเมตร การก่อสร้างเป็นงทางยกระดับ ตลอด แนวเส้นทาง

สถานีขึ้น-ลง รูปแบบของสถานีมีทั้งแบบชานชาลากลา และชานชาลาด้านข้าง มีจุดขึ้น-ลงสถานีรวม 10 สถานี คือ

สถานีใต้ดิน 4 สถานี ได้แก่

1.สถานี วัดมังกร
2.สถานี วังบูรพา
3.สถานี ปากคลองตลาด
4.สถานี บางกอกใหญ่

สถานียกระดับ 6 สถานี ได้แก่

1.สถานี ท่าพระ
2.สถานี บางไผ่
3.สถานี บางหว้า
4.สถาน ภาษีเจริญ
5.สถานี บางแค
6.สถานี หลักสอง

แผนการก่อสร้าง แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้

- ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 และแล้วเสร็จประมาณเดือน พฤศจิกายน 2552

- ช่วงท่าพระ-บางแค จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนตุลาคม 2551

- ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ จะเริ่มก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2549 แล้วเสร็จประมาณเดือนธันวาคม 2552

ความคืบหน้า : คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินงานตามแผนงานต่อไป




4.โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่-ราษฎร์บูรณะ)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง : ระยะทางรวมทั้งสิ้น 43 กิโลเมตร แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ ระยะทาง 23 กิโลเมตร เริ่มจากบริเวณสถานีบางซื่อยกระดับไปตาม แนวถนนไปยังสถานีเตาปูน สถานีวงศ์สว่าง สถานีนครินทร์ สถานีเรวดี สถานแครายสถานีศรีพรสวรรค์ สถานีแยกถนนนนทบุรี 1 สถานีพระนั่งเกล้า สถานีไทรม้า สถานีท่าอิฐ สถานีบางรัก ใหญ่สถานีบางบัวทอง สถานีคลองบางแพรก สถานีสามแยกบางใหญ่ สถานีตลาดบางใหญ่ และสถานีคลองบางไผ่เป็นสถานีสุดท้าย และเป็นที่ตั้งของศูนย์ ซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้า

- ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ จากบางซื่อ-สามเสนเป็นโครงสร้างยกระดับต่อเนื่องมาตามถนนประชา-ราษฎร์ และเริ่มลดระดับลงใต้ดิน เป็นโครงสร้างอุโมงค์เปลี่ยนมาเข้าแนวถนนประชาราษฎร์สาย 1 ต่อเนื่องมาถึงถนนสามเสน เลี้ยวเข้าถนนพระสุเมรุ ถนนมหาไชย ถนนจักรเพชร แล้วเบี่ยงแนวออกเพื่อหลบสะพานพระปกเกล้า ลอดใต้ แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่แนวถนนประชาธิปก ต่อเนื่องมาถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ถนนสุขสวัสดิ์ และเริ่มยกระดับขึ้นมา เมื่อเลยแยกบางปะแก้วแล้ว ไปจนถึงบริเวณราษฎร์บูรณะ

รูปแบบโครงการ โครงสร้างทางวิ่งจะเป็นโครงสร้างยกระดับทั้งหมดตลอดสาย โดยใช้พื้นที่บริเวณเกาะกลางถนน เป็นส่วนใหญ่

สถานีขึ้น-ลง

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ มีสถานีขึ้น-ลงจำนวน 16 สถานี แต่ละสถานีห่างกันประมาณ 1 กิโลเมตร ได้แก่

1.สถานีเตาปูน ก่อสร้างเป็นสถานียกระดับบริเวณสะพานสูงบางซื่อ ข้ามคลองเปรมประชากรไปตามแนวถนนประชาราษฎร์ เป็นสถานีร่วมกับรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงบางซื่อ - ท่าพระ

2. สถานีวงศ์สว่าง ผ่านสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนถึงซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 39 บริเวณทางแยกตัดถนนวงศ์สว่าง

3.สถานีนครอินทร์ วิ่งตามถนนกรุงเทพ-นนท์ ถึงบริเวณทางแยกตัดถนนติวานนท์

4. สถานีเรวดี เลี้ยวขวาไปตามถนนติวานนท์ ผ่านทางเข้าโรงพยาบาลศรีธัญญาถึง บริเวณซอยติวานนท์ 5

5. สถานีแคราย เข้าสู่ถนนรัตนาธิเบศร์ ตั้งอยู่หน้าศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี

6. สถานีศรีพรสวรรค์ อยู่บริเวณซอยรัตนาธิเบศร์ 28

7.สถานีแยกถนนนนทบุรี 1 บริเวณก่อนซอยรัตนาธิเบศร์ 30 ซึ่งสถานีนี้จะมีที่จอดแล้วจร

8.สถานีพระนั่งเกล้า แนววิ่งจะเริ่มเบนออกขวาจากกลางถนนเพื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีโครงสร้างทางวิ่งขนาน ไปกับสะพานพระนั่งเกล้า จะเป็นสถานีเชื่อมต่อกับการขนส่งทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา

9. สถานีไทรม้า เบี่ยงเข้าสู่กึ่งกลางถนนรัตนาธิเบศร์ และวิ่งตรงถึงบริเวณหน้าหมู่บ้านซื่อตรง

10. สถานีท่าอิฐ บริเวณก่อนถึงแยกท่าอิฐ

11. สถานีบางรักใหญ่ บริเวณทางเข้าวัดบางรักใหญ่

12. สถานีบางบัวทอง บริเวณก่อนถึงแยกตัดกับถนนบางกรวย - บางบัวทอง

13.สถานีคลองบางแพรก บริเวณคลองบางแพรก

14.สถานีสามแยกบางใหญ่ บริเวณหน้าหมู่บ้านกฤษดานคร 10 ก่อนถึงแยกถนนวงแหวนรอบนอก

15.สถานีตลาดบางใหญ่ เลี้ยวขวาบริเวณทางแยกและวิ่งไปตามแนวกึ่งกลางของถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) ถึงบริเวณโรงพยาบาลเกษมราษฎร์

16. สถานีคลองบางไผ่ (บริเวณคลองบางไผ่) เป็นสถานีสุดท้าย และเป็นที่ตั้งของศูนย์ซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้า รวมทั้งเป็นอาคารจอดแล้วจร

- จุดที่ตั้งสถานีช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ มีสถานีขึ้น-ลง 18 สถานี ได้แก่

1.สถานี บางโพ
2.สถานี ศรีย่าน
3.สถานี กรมชลฯ
4.สถานี สามเสน
5.สถานี หอสมุดแห่งชาติ
6.สถานี พระสุเมรุ
7.สถานี ราชดำเนิน
8.สถานี เจริญกรุง
9.สถานี วังบูรพา
10.สถานี สะพานพระปกเกล้า
11.สถานี วงเวียนใหญ่
12.สถานี สำเหร่
13.สถานี มไหสวรรค์
14.สถานี จอมทอง
15.สถานี ดาวคะนอง
16.สถานี บางปะกอก
17.สถานี ประชาอุทิศ
18.สถานี ราษฎร์บูรณะ


แผนการก่อสร้าง

- ช่วงจากบางซื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ จะคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการยื่นข้อเสนอประกวดราคา ประมาณเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2548 หลังจากนั้นจะมีการประกาศเชิญชวน และจัดทำข้อเสนอราคาในเดือนมิถุนายน 2548 และจะสามารถประเมินข้อเสนอเจรจาต่อรองขออนุมัติและลงนามในสัญญาได้ภายในเดือนสิงหาคม 2548 จึงสามารถเริ่มการก่อสร้างได้ โดยใช้เวลาในการก่อสร้างประมาณ 32 เดือน โดยจะสามารถเปิดให้บริการได้ประมาณปลายปี 2551

-ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ คาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้ในปี 2553

ความคืบหน้า

- ช่วงบางชื่อ-พระนั่งเกล้า-บางใหญ่ ขณะนี้อยู่ระหว่างศึกษาออกแบบรายละเอียดเส้นทาง และมีแนวเวนคืนตาม พระราชกฤษฎีกาออกมาแล้ว หลังจากนั้นจะมีการสำรวจรายละเอียดของอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเขตทางคาดว่าจะใช้เวลา 4 เดือน และจะมีการดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 16 เดือน รฟม. ได้ลงนามสัญญาว่า จ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา AEC ศึกษาความเหมาะสม ออกแบบรายละเอียด และจัดทำเอกสารประกวดราคาโครงการ ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง บางใหญ่-ราษฎร์บูรณะ ช่วงบางใหญ่-บางซื่อ ขณะนี้บริษัทที่ปรึกษาได้ดำเนินงาน มีความคืบหน้า เช่น งานสำรวจและจัดทำแผนที่แสดง ภูมิประเทศ เขตที่ดิน และสาธารณูปโภค งานออกแบบแนวเส้นทาง งานออกแบบรายละเอียดด้านสถา-ปัตยกรรมและวิศวกรรมของสถานี เป็นต้น ซึ่ง รฟม. และบริษัทที่ปรึกษาจะนำผล การศึกษาต่างๆ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบอย่างต่อเนื่องและมีแผนการดำเนินงานในเรื่องการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและด้านชุมชนสัมพันธ์ ดังนี้

1.การจัดประชุมครั้งที่ 1 เพื่อปฐมนิเทศโครงการ เพื่อเป็นการแนะนำและชี้แจงข้อมูลรายละเอียดโครงการพร้อม ทั้งรับฟังความคิดเห็นต่างๆ โดยจะมีผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาประมาณ 100 คน จากส่วนราชการต่างๆ ในพื้นที่จังหวัด นนทบุรีครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอที่แนวเส้นทางโครงการพาดผ่าน ได้แก่ อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางใหญ่ และ อำเภอบางบัวทอง ผู้นำส่วนท้องถิ่น ผู้แทนจากภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในเดือนมีนาคม 2548 ผลที่ได้จากการประชุม สัมมนาครั้งนี้จะนำมาประมวลวิเคราะห์และสรุปประเด็นข้อคิดเห็น เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการดำเนินการ ศึกษาและออกแบบราย ละเอียดในโครงการให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

2.จัดประชุมสัมมนากลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 30-40 คน เดือนมีนาคม-เมษายน 2548 เพื่อเป็นการสำรวจทัศนคติ และประชาสัมพันธ์รายละเอียดข้อมูลโครงการ สร้างความเข้าใจและการรับรู้ โดยจะแบ่งการสัมมนากลุ่มย่อยตลอด แนวเส้นทางโครงการออกเป็น 5 กลุ่ม คือ

- ชุมชนบริเวณย่านสถานีบางซื่อ
- ชุมชนบริเวณ กม . ที่ 17 ถึงสี่แยกแคราย
- กลุ่มผู้แทนจากเทศบาลนครนนทบุรี อบต.ไทรม้า และ อบต.บางรักน้อย
- กลุ่มผู้แทนจาก อบต.บางเลน และเสาธงหิน
- กลุ่มผู้แทนจาก อบต.โสนลอย บางรักใหญ่ บางรักพัฒนา และพิมลราช


3.การประชุมสัมมนาครั้งที่ 2 จะจัดขึ้นประมาณ เดือนพฤษภาคม 2548 หลังจากที่บริษัทที่ปรึกษาได้ศึกษาผล กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการแล้วเสร็จ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง มาตรการในการจัดการกับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะและปัญหาต่างๆ โดย จะมีผู้แทนจากส่วนราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภาคเอกชนและสื่อมวลชนเข้าร่วมประชุมประมาณ 200 คน นอก จากการจัดประชุมสัมมนาดังกล่าวข้างต้นแล้ว รฟม. จะร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาจัดนิทรรศการตามหน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน เพื่อเผยแพร่รายละเอียดและข้อมูลโครงการสู่สาธารณชนเป็นระยะๆ ตามสถานที่ ดังนี้

- ปลายเดือนมีนาคม - ต้นเดือนเมษายน 2548 จะจัดนิทรรศการในงาน "วัฒนธรรมสองฝั่งเจ้าพระยาใต้ฟ้านนท์ " ซึ่งเป็นกิจกรรมประจำปีของจังหวัดนนทบุรี ที่วัดเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเมือง นนทบุรี
- งาน " บางใหญ่แฟร์ " ที่ศูนย์ราชการอำเภอบางใหญ่ และตลาดบางใหญ่ซิตี้


- ช่วงจากบางซื่อ-สามเสน-ราษฎร์บูรณะ อยู่ระหว่างดำเนินการศึกษาออกแบบรายละเอียดโครงการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย กองประชาสัมพันธ์ โทร. 0-2246 5733, 0-2246 5744 ต่อ 116, 121 โทรสาร 0 2246 2099, 0 2246 3687 www.mrta.co.th



5.โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (บางกะปิ-บางบำหรุ)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)

แนวเส้นทาง : เป็นการพัฒนาระบบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) รวมระยะทาง 24 กิโลเมตร แยกเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้

- ช่วงจากบางกะปิ-สามเสน ระยะทาง 19.8 กิโลเมตร เริ่มต้นบริเวณบางกะปิ เป็นโครงสร้างอุโมงค์ลอดใต้แยกลำสาลี ไปตามแนวถนนรามคำแหง เข้าถนนพระราม 9 ผ่านคลองลาดพร้าว วิ่งต่อเนื่องไปตามถนนดินแดง ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผ่านถนนราชวิถี ไปจนถึงบริเวณสามเสน

- ช่วงจากสามเสน-บางบำหรุ ระยะทาง 4 กิโลเมตร เป็นการต่อขยายเส้นทางที่มาจากบางกะปิ โดยเริ่มจากสามเสน ซึ่ง ยังเป็นโครงสร้างอุโมงค์มุดลอดแม่น้ำเจ้าพระยา ไปตามแนวสะพานกรุงธน และจะเริ่มปรับเป็นโครงสร้างยกระดับ เมื่อพ้น แนวถนนจรัญสนิทวงศ์ไปแล้ว จากนั้นวิ่งไปตามแนวถนนสิรินธร จนไปเชื่อมกับแนวรถไฟสายใต้ บริเวณสถานีบางบำหรุ

รูปแบบโครงการ :โครงสร้างจะมีทั้งแบบอุโมงค์ใต้ดินและโครงสร้างยกระดับเหนือเกาะ กลางถนน

สถานีขึ้น-ลง : รูปแบบของสถานีจะมีทั้งแบบชานชาลากลางและชานชาลาด้านข้าง ทั้งนี้คาดว่าจะมีที่จอดรถยนต์ (Park and Ride) สำหรับผู้มาใช้บริการที่บริเวณบางกะปิ ซึ่งจากการศึกษาในเบื้องต้นตลอดแนวสาร ทางนี้จะประกอบด้วยจุดขึ้น-ลง ประมาณ 13 สถานี ได้แก่

1.สถานี บางบำหรุ
2.สถานี สิริธร
3.สถานี สะพานกรุงธน
4.สถานี สามเสน (เขาดิน)
5.สถานี อนุสาวรีย์
6.สถานี ดินแดง(ประชาสงเคราะห์)
7.สถานี ศูนย์วัฒนธรรม
8.สถานี ห้วยขวาง
9.สถานี นวศรี
10.สถานี รามคำแหง
11.สถานี สนามกีฬาหัวหมาก
12.สถานี สถานีลำสาลี
13.สถานี บางกะปิ

แผนการก่อสร้าง

-ช่วงบางกะปิ-สามเสน จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2548 และแล้ว เสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2552

-ช่วงสามเสน-บางบำหรุ จะเริ่มก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2549 แล้วเสร็จประมาณ เดือนมีนาคม2553

ความคืบหน้า : คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการแล้ว

6.โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม (รังสิต-มหาชัย)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากบริเวณสถานีรถไฟรังสิต สถานีดอนเมือง สถานีบางซื่อ ยกระดับข้ามแยกยมราช ผ่านแยกกษัตริย์ศึก หัวลำโพง วิ่งออกมาตามแนวถนนพฤฒาราม ผ่านริมคลองผดุงกรุงเกษม และข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณ ใกล้ศูนย์การค้า ริเวอร์ซิตี้ เพื่อมาเข้าแนวถนนลาดหญ้า และเลี้ยวออกไปบนแนวถนนเจริญรัถ เพื่อหลบอนุสาวรีย์พระเจ้าตากสิน จากนั้นวิ่ง ข้ามถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน เพื่อเข้าไปตามทางรถไฟสายแม่กลองเดิม แล้วลดระดับลงสู่ระดับดินที่บริเวณ ตลาดพลู และวิ่งตามไปตาม แนวทางรถไฟเดิมจนถึงมหาชัย ระยะทาง 65 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ โครงสร้างยกระดับตามแนวเส้นทางรถไฟเดิมของการรถไฟฯ ที่เปิดดำเนินการเดินรถในปัจจุบัน ทั้งสายเหนือ สายตะวันออก สายใต้ และสายแม่กลอง แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 4 ช่วง คือ ช่วงบางซื่อ-รังสิต ระยะทาง 22.7 กิโลเมตร ช่วงบางซื่อ-หัวลำโพง ระยะทาง 7.5 กิโลเมตร ช่วงหัวลำโพง-ศูนย์ตากสิน ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร และช่วงศูนย์ตากสิน-มหาชัย ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร

สถานีขึ้น-ลง ในเบื้องต้นได้ทำการออกแบบจุดขึ้น-ลง สถานีตลอดแนวสายทางไว้ทั้งสิ้น 35 สถานี ประกอบด้วย

1. สถานี รังสิต
2. สถานี เมืองเอก
3. สถานี ดอนเมือง
4. สถานี การเคหะ
5. สถานี หลักสี่
6. สถานี นอร์ทปาร์ค
7. สถานี งามวงศ์วาน
8. สถานี ประชานิเวศน์
9. สถานี หมอชิต
10. สถานี ศูนย์พหลโยธิน
11. สถานี กำแพงเพชร
12. สถานี ประดิพัทธิ์
13. สถานี สามเสน
14. สถานี รพ.รามาธิบดี
15. สถานี ยมราช
16. สถานี พญาไท
17. สถานี มหานาค
18. สถานี สนามกีฬา
19.สถานี หัวลำโพง
20.สถานี สามย่าน
21.สถานี ตลาดน้อย
22.สถานี คลองสาน
23.สถานี วงเวียนใหญ่
24.สถานี ตลาดพลู
25.สถานี ท่าพระ
26.สถานี ศูนย์ตากสิน
27.สถานี จอมทอง
28.สถานี วัดสิงห์
29.สถานี บางบอน
30.สถานี รางสะแก
31.สถานี รางโพ
32.สถานี สามแยก
33.สถานี พรหมแดน
34.สถานี มหาชัยเมืองใหม่
35สถานี มหาชัย

แผนการก่อสร้าง

- ช่วงบางซื่อ-รังสิต เริ่มก่อสร้างเดือนกุมถาพันธ์ 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนสิงหาคม 2551

- ช่วงหัวลำโพง-บางซื่อ เริ่มก่อสร้างประมาณเดือนเมษายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือน ตุลาคม 2551

-ช่วงหัวลำโพง-ศูนย์ตากสิน เริ่มก่อสร้างเดือนมิถุนายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนมิถุนายน 2552

-ช่วงศูนย์ตากสิน-มหาชัย เริ่มก่อสร้างประมาณเดือนมิถุนายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือน มิถุนายน 2552

ความคืบหน้า : อยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบรายละเอียดแนวเส้นทาง

************************************************

7.โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน (ตลิ่งชัน-สุวรรณภูมิ)


หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)

แนวเส้นทาง แบ่งออกเป็น 2 ช่วง

- ช่วงจากยมราช-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ เป็นแนวเส้นทางรถไฟสายตะวันออกในปัจจุบัน เริ่ม จากบางซื่อ หัวลำโพง ผ่าน แยกกษัตริย์ศึก และเริ่มยกระดับข้ามแยกยมราชวิ่งขนานไปตามแนวถนนเพชรบุรี ผ่านถนนศรีนครินทร์ ถนนกรุงเทพกรีฑา และเริ่มลดระดับลงสู่พื้นดิน ไปจนถึงสถานีลาดกระบัง และยกระดับอีกครั้ง ข้ามถนนอ่อนนุช เพื่อจะเข้าสู่สนามบินสุวรรณภูมิ จากนั้นลดระดับลงสู่พื้นดินและลง ใต้ดินเพื่อเข้าสู่สนามบิน ระยะทาง 6.1 กิโลเมตร

- ช่วงจากบางซื่อ-ตลิ่งชัน-วงแหวนรอบนอก เป็นแนวเส้นทางรถไฟสายตะวันตกในปัจจุบัน เริ่มออกจากบางซื่อไปตาม ทางรถไฟเดิม และเริ่มยกระดับเพื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา และจะลดลงสู่ระดับดิน เมื่อข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์แล้ว จากนั้นก็จะ วิ่งระดับดินไปโดยตลอด ระยะทาง 14.9 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ

- ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน และ ช่วงบางซื่อ-พญาไท จะเป็นแนวเส้นทางเดียวกับเส้นทางรถไฟสาย ตะวันตกในปัจจุบัน โดย ระหว่างบริเวณจากบางซื่อ-วงแหวนรอบนอก จะมีจำนวนราง 2 ราง มีเขตทาง กว้างประมาณ 80 เมตร

- ช่วงพญาไท-มักกะสัน-สุวรรรณภูมิ ช่วงนี้จะเป็นแนวเส้นทางเดียวกับเส้นทางรถไฟสาย ตะวันออกในปัจจุบัน โดย ระหว่างบริเวณยมราช-หัวหมาก จะมีราง 1 รางจากหัวหมาก-ลาดกระบัง มี 3 ราง มีเขตทางกว้างประมาณ 40 เมตร

สถานีขึ้น-ลง : จำนวน 23 สถานี ได้แก่

1.สถานี ตลิ่งชัน
2.สถานี บางบำหรุ
3.สถานี บางพลัด
4.สถานี บางซ่อน
5.สถานี วงศ์สว่าง
6.สถานี หมอชิต
7.สถานี ศูนย์พหลโยธิน
8.สถานี ประดิพัทธ
9.สถานี สามเสน
10.สถานี ร.พ. รามาธิบดี
11.สถานี ยมราช
12.สถานี พญาไท
13.สถานี ราชปรารภ
14.สถานี มักกะสัน
15.สถานี ศูนย์วิจัย
16.สถานี คลองตัน
17.สถานี เสรี
18.สถานี รามคำแหง
19.สถานี หัวหมาก
20.สถานี กรุงเทพกรีฑา
21.สถานี บ้านทับช้าง
22.สถานี ลาดกระบัง
23.สถานี สุวรรณภูมิ

แผนการก่อสร้าง เบื้องต้นคาดว่าจะเริ่มการก่อสร้างใน

- ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน ได้ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2548 แล้วเสร็จพร้อมเปิดให้ใช้บริการได้ประมาณเดือนสิงหาคม 2551

- ช่วงบางซื่อ-พญาไท คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณเดือน เมษายน 2548 แล้วเสร็จประมาณเดือนตุลาคม 2551

- ช่วงพญาไท-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ คาดว่าจะเริ่มดำเนินการก่อสร้างได้ในเดือนเมษายน 2548 แล้วเสร็จพร้อมเปิดให้ใช้ บริการได้ประมาณเดือนตุลาคม 2551 มูลค่าการลงทุนรวม 54,111 ล้านบาท

ความคืบหน้า ได้มีการลงนามในสัญญาว่าจ้างก่อสร้างโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (Airport Rail Link) กับบริษัท บี.กริม อินเตอร์เน ชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีเมนส์ จำกัด บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) คาดว่าจะลงมือก่อสร้างได้ประมาณปลายเดือน กุมภาพันธ์ 2548

************************************************

8.โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ปากเกร็ด-แจ้งวัฒนะ-หลักสี่-รามอินทรา-สุวินทวงศ์)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากถนนแจ้งวัฒนะบริเวณห้าแยกปากเกร็ด วิ่งไปตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ ผ่านเมืองทองธานี พหลโยธิน-หลักสี่ เข้าสู่ถนนรามอินทรา ไปมีนบุรี จากนั้นวิ่งเข้าสู่ถนนสุวินทวงศ์ ตัดผ่านถนนสามวา ถนนร่มเกล้า และถนนนิมิตรใหม่ สิ้น สุดที่มีนบุรี และในอนาคตจะมีการขยายเส้นทางเพื่อไปเชื่อมต่อกับโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิด้วย โดยผ่านทางถนนร่มเกล้า เข้าสนามบินสุวรรณภูมิ รวมระยะทาง 41 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ: จะก่อสร้างเป็นโครงสร้างทางยกระดับตลอดแนวสายทางบนเกาะกลางถนน เป็นรถไฟฟ้าขนาดเบาได้ ซึ่ง จะมีค่าใช้จ่ายถูก และสามารถก่อสร้างได้ในเวลาอันรวดเร็ว

สถานีขึ้น-ลง จำนวน 13 สถานี ได้แก่

1. สถานี ปากเกร็ด (อยู่ตรงห้าแยกปากเกร็ด)
2. สถานี เมืองทองธานี (ปากทางเข้าเมืองทองฯ)
3. สถานี แจ้งวัฒนะ (ตรงตัดกับทางด่วน)
4. สถานี ประชาชื่น(จุดตัดถนนแจ้งวัฒนะกับประชาชื่น)
5. สถานี รถไฟหลักสี่
6. สถานี วัดพระศรีมหาธาตุ (อนุสาวรีย์หลักสี่)
7. สถานี ลาดปลาเค้า
8. สถานี วัชรพล
9. สถานี นวมินทร์
10. สถานี บริเวณจุดตัดวงแหวนรอบนอก ด้านตะวันออก
11. สถานี พระยาสุเรนทร์ (ถนนสวนสยาม)
12. สถานี หทัยราษฎร์
13. สถานี นิมิตรใหม่ (มีนบุรี)

แผนการก่อสร้าง โครงการนี้ยังเป็นแนวคิดเบื้องต้น ต้องทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ จากนั้นจึงจะสรุปราย ละเอียดทั้งหมดแล้วนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่ เพื่อขออนุมัติดำเนินการต่อไป ซึ่งจะเร่งดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายใน 6 ปี เช่นเดียวกับโครงข่ายรถไฟฟ้า 7 สายก่อนหน้านี้

ความคืบหน้า อยู่ระหว่างทำการศึกษาในรายละเอียดความเหมาะสม แนวเส้นทางที่ชัดเจน จำนวนผู้โดยสารที่แน่นอน ความ เหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ ราคาค่าก่อสร้างที่แน่ชัด ระบบการเดินรถที่จะต้องใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บท โดยรวมที่ มีอยู่แล้ว

************************************************

9.โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-รัชดาภิเษก-บางกะปิ- ศรีนครินทร์-เทพารักษ์-สำโรง)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)

แนวเส้นทาง เริ่มจากสำโรง บริเวณจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนเทพารักษ์ (จุดตัดกับรถไฟฟ้าบีทีเอสที่จะต่อขยายเพิ่ม เติม) มาตามแนวถนนเทพารักษ์ เลี้ยวเข้าถนนศรีนครินทร์ มาตามแนวถนนศรีนครินทร์ ตัดผ่านถนนบางนา-ตราด อ่อนนุช-ลาด กระบัง (สุขุมวิท 77) ถนนพัฒนาการ ผ่านบริเวณแยกลำลาสี บางกะปิ มุ่งหน้าเข้าสู่ถนนลาดพร้าว มาตามแนวถนนลาดพร้าว สิ้นสุดที่บริเวณถนนลาดพร้าวตัดกับถนนรัชดาภิเษก (สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน) รวมระยะทาง 32 กิโลเมตร

รูปแบบโครงการ เส้นนี้จะเป็นโครงสร้างใต้ดินในช่วงถนนลาดพร้าว หลังจากนั้นจะเป็นทางยกระดับบนเกาะกลาง ถนนในเส้นทางส่วนที่เหลือ

สถานีขึ้น-ลง จำนวน 18 สถานี ได้แก่

1. สถานี สำโรง (บริเวณจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนเทพารักษ์)
2. สถานี บริเวณจุดตัดถนนเทพารักษ์กับถนนศรีนครินทร์
3. สถานี กึงกลางระหว่างถนนเทพารักษ์กับถนนบางนา-ตราด (ก่อนถึงซอยลาซาล)
4. สถานี จุดตัดกับถนนศรีนครินทร์กับถนนบางนา-ตราด
5. สถานี บริเวณปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท 103)
6. สถาน บริเวณปากซอยสุขุมวิท 101
7. สถานี บริเวณจุดตัดกับถนนสุขุมวิท 77 (อ่อนนุช-ลาดกระบัง)
8. สถานี บริเวณจุดตัดกับมอเตอร์เวย์ ใกล้กับถนนพัฒนาการ
9. สถานี บริเวณจุดตัดกับถนนกรุงเทพกรีฑา
10. สถานี ก่อนถึงแยกลำสาลี
11. สถาน บางกะปิ
12. สถานี ซอยลาดพร้าว 122
13. สถานี ลาดพร้าว 101
14. สถานี ลาดพร้าว 81 (บิ๊กซี)
15. สถานี ลาดพร้าว 71
16. สถานี ซอยโชคชัย 4
17. สถานี ซอยลาดพร้าว 48
18. สถานี ลาดพร้าวตัดกับรัชดาภิเษก (รถไฟฟ้าใต้ดิน)

แผนการก่อสร้าง โครงการนี้ยังเป็นแนวคิดเบื้องต้น ต้องทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ จากนั้นจึงจะสรุปรายละ เอียด ทั้งหมดแล้วนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่ เพื่อขออนุมัติดำเนินการต่อไป ซึ่งจะเร่งดำเนินการให้ แล้วเสร็จภายใน 6 ปี เช่นเดียวกับโครงข่ายรถไฟฟ้า 7 สายก่อนหน้านี้

ความคืบหน้า อยู่ระหว่างทำการศึกษาในรายละเอียดความเหมาะสม แนวเส้นทางที่ชัดเจน จำนวนผู้โดยสารที่แน่นอน ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ ราคาค่าก่อสร้างที่แน่ชัด ระบบการเดินรถที่จะต้องใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทโดย รวม ที่มีอยู่แล้ว

วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

การขอ อนุญาติสร้างบ้านและ ขอเลขที่บ้าน แบบ โครงการสิวารัตน์ บางเลน นครปฐม



การขออนุญาติ สร้างบ้านและการขอเลขที่บ้าน

บ้านเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของคนเรา การมีบ้านเป็นสัญลักษณ์แห่งการเริ่มชีวิตใหม่ที่จะเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังนั้นการปลูกสร้างบ้านที่ได้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ จึงเป็นการส่งเสริมความมั่นคงของชีวิตในฐานะเป็นพลเมืองดี และเสริมสร้างความดีงามแก่จิตใจ

ขั้นตอนในการปลูกสร้างบ้าน
ในเขตที่ประกาศใช้กฎหมายควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือกฎหมายผังเมืองบ้าน หรืออาคารที่จะปลูกสร้าง ต้องได้รับอนุญาตแบบแปลนเสียก่อน และจะสร้างเกินกว่าแบบที่ได้รับอนุญาตไม่ได้ โดยยื่นคำร้องได้ที้สำนักงานเทศบาล สำนักงานเมืองพัทยา และสำนักงานเขต หรือกรุงเทพมหานคร อำเภอ และสำนักงานสุขาภิบาล แล้วแต่กรณี
บริเวณนอกเขตควบคุม บ้านหรืออาคารที่จะปลูกสร้างไม่ต้องขออนุญาตสามารถปลูกสร้างได้เลย

การแจ้งการปลูกสร้างบ้านและผู้มีหน้าที่รับแจ้ง
เมื่อปลูกสร้างบ้านหรืออาคารเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เจ้าบ้านไปแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่นั้น ๆ คือ นายทะเบียนท้องถิ่น หรือกำนัน หรือผู้ใหญ่บ้าน หรือปลัดอำเภอ หรือผู้ช่วยนายทะเบียน ณ สำนักงานเทศบาล สำนักงานเมืองพัทยา สำนักงานเขต กรุงเทพมหานคร ที่ว่าการอำเภอ หรือกิ่งอำเภอ แล้วแต่กรณี เพื่อขอเลขประจำบ้านภายใน 15 วัน นับแต่วันปลูกสร้างบ้านเสร็จ หากไม่ไปแแจ้งตามกำหนดมีความผิดตามกฎหมาย มีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

หลักฐานที่จะต้องนำไปแจ้งเพื่อขอเลขประจำบ้าน
- หนังสือหรือเอกสารการได้รับอนุญาตการปลูกสร้างบ้านหรืออาคาร (เฉพาะในเขตพื้นที่ที่ประกาศใช้กฎหมายควบคุมอาคารหรือกฎหมายผังเมือง)
- สำเนาทะเบียนบ้านหรือบัตรประจำตัวของผู้แจ้งกรณีผู้ที่ได้รับมอบหมายให้นำบัตรประจำตัวของผู้รับมอบ และหนังสือมอบหมาย (ถ้ามี) ไปแสดงด้วย
- หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ปลูกสร้างบ้าน สัญญาซื้อขาย สัญญาเช่า (ถ้ามี)
- ผู้แจ้งให้ยื่นคำร้องตามแบบที่กำหนดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งพร้อมหลักฐานที่นำไปแสดง
- เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการสร้างบ้านใหม่แล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐานที่นำไปแสดง

วิธีการรับแจ้ง
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการสร้างบ้านใหม่แล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐานที่นำไปแสดง เมื่อเห็นว่าถูกต้อง ก็ให้กำหนดเลขประจำบ้านให้พร้อมกับจัดทำทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านต่อไป โดยจะมอบสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้งไว้เป็นหลักฐาน เพื่อดำเนินการในเรื่องการย้ายบุคคลเข้ามาอยุ่ในทะเบียนบ้านในโอกาสต่อไป หรือจะดำเนินการในคราวเดียวกันก็ได้ ส่วนเลขประจำบ้านที่นายทะเบียนกำหนดให้นั้น ให้เจ้าบ้านไปจัดทำเลขประจำบ้านติดไว้ที่หน้าบ้านหรือที่รั้วบ้านซึ่งเห็นได้ชัดแจ้ง

การรื้อถอนบ้านซึ่งมีเลขประจำบ้าน
เมื่อได้มีการรื้อถอนบ้านหรืออาคารโดยไม่ประสงค์จะปลูกสร้างใหม่ในที่ดินนั้นอีก หรือรื้อเพื่อไปปลูกสร้างที่อื่น ให้เจ้าบ้านแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งภายใน 15 วัน นับแต่วันรื้อถอนเสร็จ พร้อมกับนำสำเนาทะเบียนบ้านคืนแก่นายทะเบียนด้วย หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

หมายเหตุ : การแจ้งเกี่ยวกับบ้านไม่เสียค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด

แหล่งที่มา กระทรวงมหาดไทย

วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ม.ราชภัฏธนบุรี กลยุทธ์การตลาด 4P-8Pธุรกิจจัดสรร โดย ดร.สมัย เหมมั่น โครงการสิวารัตน์ หัวใจการบริหาร ยั่งยื่น ดร.สมัย เหมมั่น


โครงการสิวารัตน์ มีมากกว่า 4P


4P - 8P สำคัญที่คุญเข้าใจและคุณนำมันออกมาใช้จริงๆ


กลยุทธ์ 4P คุณมีแล้วใช่ว่าจะทำธุรกิจได้ คุณต้องมีหวัใจ
หัวใจของมัน มันคืออะไร
เปิดประตูหัวใจ เปิดออกมา แล้วใส่ 4P เข้าไป

คุณทำได้














P ทุกตัวมีค่า คุณเข้าใจ คุณเดินทางไปหามัน ธุรกิจจัดสรร









กลยุทธ์การตลาด 8P ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จได้มักจะเกิดขึ้นจากการวางแผนกลยุทธ์ที่ล้ำเลิศของผู้บริหาร 8P คือหนึ่งในกลยุทธ์ที่คลาสสิคและเป็นต้นแบบในการพัฒนาการตลาดตที่ผู้ประกอบการไม่ควรจะมองข้ามเป็นอันขาด

การตลาดเบื้องต้นที่เจ้าของธุรกิจทุกคนต้องรู้
กลยุทธ์ทางการตลาดจัดเป็นอาวุธที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจของผู้บริหาร ซึ่งปัจจุบันมีรูปแบบกลยุทธ์ให้เลือกมากมายสำหรับนำมาปรับใช้เพื่อความเหมาะสมของธุรกิจ แต่กลยุทธ์ที่ต้องถือเป็นต้นแบบทางการตลาดอย่างแท้จริงคงเห็นจะหนีไม่พ้นกลยุทธ์ 8P เพราะนักธุรกิจทั่วโลกต่างยกนิ้วและให้การยอมรับว่ามีประสิทธิภาพในการทำการตลาดค่อนข้างสูงสามารถเห็นผลได้อย่างชัดเจนอีกทั้งยังถือว่ากลยุทธ์นี้เป็นแม่บทในการพัฒนากลยุทธ์ซีรี่ย์ต่างๆตามหลังออกมาในปัจจุบันอีกด้วย จึงเป็นสิ่งสมควรที่ผู้ประกอบการจะต้องทำความรู้จักและศึกษาเรียนรู้ความหมายเกี่ยวกับกลยุทธ์ดังกล่าวนี้อย่างที่สุด

1. กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product Strategy) กลยุทธ์ในส่วนแรกนี้จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับตัวผลิตภัณฑ์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นส่วนของคุณสมบัติส่วนตัวที่ต้องตั้งเป้าว่าจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ในระดับความพึงพอใจขนาดไหน การนำสินค้าไปเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันในท้องตลาดว่ามีจุดเด่นและจุดด้อยอย่างไร นอกจากนี้ยังมีในส่วนของวัตถุดิบและสายงานการผลิตด้วย

2. กลยุทธ์ราคา (Price Strategy) การกำหนดราคาของผลิตภัณฑ์สินค้าถือเป็นกลยุทธ์สำคัญของแผนงานทางการตลาดที่จะช่วยสร้างความได้เปรียบมากขึ้น โดยการกำหนดราคาจะต้องคำนึงถึงปัจจัยของต้นทุนการผลิตบวกกับผลกำไรที่ต้องการจะได้จากการขายผลิตภัณฑ์แล้วจึงทำการกำหนดราคาขายออกมาโดยต้องคำนึงสภาพการแข่งขันของตลาดสินค้า นอกจากนี้การกำหนดราคายังมีนัยที่บ่งบอกถึงตำแหน่งที่ต้องการจะให้สินค้าไปยืนอยู่ด้วย ซึ่งการตั้งราคาอาจจะตั้งให้ใกล้เคียงกับสินค้าประเภทเดียวกันบนท้องตลาด หรือน้อยกว่าถ้าต้องการแย่งชิงฐานลูกค้า และมากกว่าถ้าต้องการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ให้อยู่เหนือกว่าผลิตภัณฑ์ทั่วไป

ราคา 799,999
ถูกกว่าข้างบ้าน 50%



3. กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy) ช่องทางการจัดจำหน่ายเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สำคัญของการวางกลยุทธ์ทางการตลาด เพราะถ้าสามารถหาช่องทางการกระจายสินค้าไปสู่มือผู้บริโภคได้มากเท่าไหร่ ผลกำไรก็จะเพิ่มสูงขึ้นมากเท่านั้น โดยช่องทางการจัดจำหน่ายที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกันสองรูปแบบคือ การขายไปสู่มือของผู้บริโภคโดยตรงและการขายผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งสองวิธีนี้จะมีข้อแตกต่างอยู่ตรงที่ว่าการขายตรงไปสู่มือผู้ใช้สินค้าจะได้กำไรที่มากกว่า ในขณะที่การขายผ่านพ่อค้าคนกลางจะช่วยในเรื่องของยอดการจำหน่ายที่สูงขึ้นอันมีผลมาจากเครือข่ายที่พ่อค้าคนกลางได้วางเอาไว้นั่นเอง


ขายตรง ๆ ลดแหลก แจกสะบัด มีแต่ให้ไม่ต้องผ่านใครๆ



4. กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy) การส่งเสริมการตลาดถ้าจะให้เปรียบเทียบน่าจะเหมือนกับการใช้เข็มฉีดยารักษาโรค เพราจะมีประสิทธิภาพช่วยในการขายสินค้าได้เป็นอย่างดี ถ้าโปรโมชั่นที่ออกมาโดนใจลูกค้าก็จะช่วยให้ยอดขายและผลกำไรทวีสูงมากยิ่งขึ้น โดยกลยุทธ์การตลาดนี้จะต้องช่วยส่งเสริมและสอดคล้องไปกันได้กับกลยุทธ์อย่างอื่นด้วย โดยการส่งเสริมการตลาดนี้สามารถทำได้หลายวิธีไม่ว่าจะเป็นการลด แลก แจก แถม เป็นต้น

ทำทุกอย่างมากกว่า 4p และ เข้าถึงมัน

5. กลยุทธ์บรรจุภัณฑ์ (Packaging Strategy) บรรจุภัณฑ์มีความสำคัญเปรียบเสมือนเป็นหน้าตาของสินค้า ดังนั้นการออกแบบดีไซน์รูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์จึงเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง โดยหลักสำคัญที่ควรจะต้องคำนึงถึงเมื่อทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามแผนการกลยุทธ์นี้ก็คือจะต้องมีความสวยงามเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์อีกทั้งความโดดเด่นเมื่อนำไปวางบนชั้นสินค้าเปรียบเทียบกันกับของคู่แข่งจะต้องมีความเหนือชั้นกว่าจึงจะประสบความสำเร็จตามแผนงานนี้


พื้นที่ใหญ่กว่ามากกว่า ราคาต่ำกว่า รวมเป็น โปร์ดักส์ที่ดีกว่า
มันน่ากลัว

6. กลยุทธ์การใช้พนักงานขาย (Personal Strategy) ทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยทำให้ยอดขายทะยานไต่ระดับพุ่งสูงขึ้นก็คือการเลือกใช้กลยุทธ์พนักงานขายเป็นตัวช่วยส่งเสริม การขายสินค้าโดยใช้พนักงานถือเป็นศิลปะการขายขั้นสูงที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบกันได้ง่ายๆ พนักงานขายที่มีความรู้ความสามารถบวกกับประสบการณ์จะมีเทคนิคการจูงใจลูกค้าให้เข้ามาสนใจและนำพาไปสู่ action นั่นก็คือการตัดสินใจซื้อในที่สุด

สวยกว่า ดีกว่า ให้มากกว่า บริการดีกว่า


7. กลยุทธ์ข่าวสาร (Public Relation Strategy) ยุคโลกไร้พรมแดนอย่างในปัจจุบัน การสื่อสารคือกุญแจสำคัญที่นำไปใช้ไขสู่ประตูความสำเร็จ เพราะสภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตของผู้คมในสังคมเมืองและชนบทถูกแวดล้อมไปด้วยสื่อต่างๆมากมาย การใช้กลยุทธ์ข่าวสารเข้ามาเป็นทัพเสริมอีกแรงหนึ่งในการทำการตลาดจะช่วยอำนวยผลในเรื่องของภาพพจน์และเพิ่มทัศนคติในเชิงบวกให้เกิดกับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ

ให้ความร่วมมือและสอบสนองสังคม ทุกชาติทุกภาษา

8. กลยุทธ์การใช้พลัง (Power Strategy) พลังในที่นี้หมายถึงอำนาจในการต่อรองและควบคุม ซึ่งดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่ยากที่สุดในการเนรมิตให้เกิดขึ้น แต่ก็เป็นสิ่งที่จำเป็นและจะขาดเสียไม่ได้ในองค์ประกอบตัวพีส่วนสุดท้ายนี้ เพราะอำนาจต่อรองจะสามารถเป็นพลังพิเศษเปรียบเสมือนมือที่มองไม่เห็น ที่จะนำมาใช้ต่อรองแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางการค้าให้บริษัทได้รับข้อเสนอที่ดีที่สุดในกรณีที่ไม่สามารถตกลงกันตามกรอบได้อย่างลงตัว


คุณคือใคร คุณรู้ตัวคุณเอง


กลยุทธ์ 8P ตามที่ได้กล่าวมานี้เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่นักธุรกิจส่วนใหญ่นำไปใช้เป็นบรรทัดฐานในการทำการตลาดให้กับบริษัทของตนเองกันทุกคน โดยมีข้อแตกต่างกันตรงที่บางบริษัทกับประสบความสำเร็จแต่บางบริษัทกับล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง เหตุผลที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะบริษัทที่ล้มเหลวไม่อาจจะสร้างองค์ประกอบทางกลยุทธ์ตัวพีขึ้นมาได้ครบทุกตามวงจร ดังนั้นผู้ประกอบการที่สนใจจะใช้กลยุทธ์นี้ทำการตลาดให้ได้อย่างเห็นผลประจักษ์จะต้องเอาใจใส่ในทุกรายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์เพื่อสร้างสรรค์ตัว P ทั้งแปดให้เกิดขึ้นมาให้ได้

บทความที่เกี่ยวข้องกลยุทธ์การกำหนดราคาสินค้าพรีเมี่ยม
การกำหนดราคาสินค้าถือเป็นหัวใจสำคัญของความสำเร็จในการทำธุรกิจ ผู้ประกอบการทุกคนจึงสมควรที่จะเรียนรู้วิธีการตั้งราคาสินค้าอย่างมีรูปแบบเพื่อสานต่อความมั่นคงการทำธุรกิจในอนาคต
บริหารจัดการสินค้าที่ได้รับความเสียหาย
สิ่งหนึ่งที่หลงเหลือภายหลังจากเหตุจราจลก็คือสินค้าที่ได้รับความเสียหาย ซึ่งถ้าผู้ประกอบการไม่มีวิธีจัดการที่ดีพอสินค้าเหล่านั้นจะกลายเป็นภาระต้นทุนที่หนักอึ้ง ที่อาจทำให้ธุรกิจต้องล้มลุกคลุกคลานก็เป็นได้
6 ขั้นตอน นำผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าตลาด
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆเป็นต้นกำเนิดของวงจรธุรกิจ เรามีวิธีการเตรียมความพร้อมก่อนนำสิ่งประดิษฐ์ก้าวเข้าสู่ตลาดมากฝากกัน
5 วิธีทำให้ลูกค้ากลับมาซื้อจากคุณเรื่อยๆ
สิ่งหนึ่งที่เจ้าของธุรกิจควรเริ่มวางแผนตั้งแต่ตอนนี้ก็คือ ระลึกเอาไว้ว่าการกลับมาซื้อซ้ำ เท่ากับ กำไร
5 กลเม็ดทำให้แบรนด์สินค้าติดตลาด
การสร้างแบรนด์สินค้าให้ติดตลาดเปรียบเสมือนเป็นทางลัดในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ ซึ่งผู้ประกอบการทุกคนจะต้องศึกษาและสร้างให้เกิดขึ้นจริงกับธุรกิจของตนเองให้จงได้
เรื่องที่น่าสนใจอื่นๆเรื่องยอดนิยมคอมเม้นท์ยอดนิยม8 แฟรนไชส์อาหารว่างน่าลงทุน

แฟรนไชส์อาหารว่างถือเป็นธุรกิจที่เติบโตและคืนกำไรให้กับเจ้าของได้อย่างรวดเร็ว อันมีที่มาจากพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยที่มีกำลังซื้อและความต้องการค่อนข้างสูงตลอดเวลา
Facebook Privacy ตั้งค่าข้อมูลส่วนตัวให้อยู่หมัดใน 6 ขั้น

ใครๆก็แชร์ข้อมูลบน Facebook เป็น แล้วข้อมูลเหล่านั้นใครมองเห็น หรือไม่เห็นบ้างล่ะ? ถ้าไม่อยากให้ข้อมูลหรือรูปส่วนตัวของคุณหลุดไปอยู่ในมือคนแปลกหน้า ก็ต้องมาอ่านวิธีการจัดการกัน
กลยุทธ์การตลาด 8P ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ประกอบการ

ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จได้มักจะเกิดขึ้นจากการวางแผนกลยุทธ์ที่ล้ำเลิศของผู้บริหาร 8P คือหนึ่งในกลยุทธ์ที่คลาสสิคและเป็นต้นแบบในการพัฒนาการตลาดตที่ผู้ประกอบการไม่ควรจะมองข้ามเป็นอันขาด
10 อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานที่ขาดไม่ได้

หนึ่งในปัจจัยอันดับต้นๆที่ขาดไม่ได้เลยสำหรับการเริ่มองค์กรธุรกิจคืออุปกรณ์สำนักงาน แต่เมื่อตรวจสอบตามความเหมาะสมแล้วเครื่องใช้สำนักงานที่จำเป็นจริงๆสำหรับบริษัทเปิดใหม่นั้นมีอะไรบ้าง
สวัสดิการพนักงานที่ควรมี

พนักงานคือผู้อุทิศทั้งกำลังและมันสมองเพื่อความสำเร็จของผู้อื่นที่ตนเองไม่มีวันได้รับ สวัสดิการจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยตอบแทนสิ่งที่เขาได้ทำเพื่อบริษัทมาโดยตลอด
3 ภาพยนตร์ สร้างแรงบันดาลใจทางธุรกิจ

หลายต่อหลายครั้งที่คุณขาดแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจ การชมภาพยนตร์อาจช่วยให้คุณค้นพบแรงบันดาลใจที่ซ่อนอยู่ในตัวคุณให้ออกมาสู่ภายนอกได้ มาดูกันว่ามีเรื่องอะไรบ้าง
6 เคล็ด ส่งออกธุรกิจ ไม่ยากอย่างที่คิด

ธุรกิจส่งออกคือทางเลือกแขนงหนึ่งของการต่อยอดทางธุรกิจที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก การเตรียมความพร้อมก่อนนำธุรกิจบินไปขายต่างประเทศจึงเป็นวิธีการป้องกันความผิดพลาดได้เป็นอย่างดี
Facebook พาปุ่ม Like ครองโลกออนไลน์

ปุ่มเพียง 1 ปุ่มนี้ จะเปลี่ยนแปลงโลกออนไลน์ได้อย่างไรบ้าง
ถ่ายรูปลงเว็บอย่างไร ให้ขายได้

อะไรคือสาเหตุที่ทำให้คนซื้อของ เหตุผลหลักๆก็น่าจะเป็นเพราะความชอบและทำให้เกิดความอยากได้ ในฐานะผู้ขายคุณจะสร้างแรงดึงดูดที่ว่านี้ให้กับผู้ซื้อได้อย่างไร หยิบกล้องมาหนึ่งตัวแล้วลงมือกันเลย
8 แฟรนไชส์อาหารว่างน่าลงทุน

แฟรนไชส์อาหารว่างถือเป็นธุรกิจที่เติบโตและคืนกำไรให้กับเจ้าของได้อย่างรวดเร็ว อันมีที่มาจากพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยที่มีกำลังซื้อและความต้องการค่อนข้างสูงตลอดเวลา
Facebook Feed

ผู้นำ ยุคไร้พรมแดน สมัยใหม่ 2554 ดร.สมัย เหมมั่น





ผู้นำยุคไร้พรมแดน ที่กล้าคิด กล้าทำงาน กล้าสร้างนวัตกรรมใหม่


ความหมายและคุณสมบัติของผู้นำ
ลักษณะภาวะผู้นำ
คุณลักษณะของผู้นำ
ภาวะผู้นำที่มีความสามารถพิเศษและภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป
ประสิทธิผลของพฤติกรรมและทัศนคติของผู้นำ
รูปแบบของภาวะผู้นำแบบคลาสสิก
รูปแบบของภาวะผู้นำแบบคลาสสิก
อำนาจ การเมือง และภาวะผู้นำ
การพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาภาวะผู้นำ
การบริหารองค์กร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม
คุณประโยชน์ของทีมงาน
รูปแบบการทำงานเป็นทีม
นโยบายและวัตถุประสงค์ของกิจกรรมนักศึกษา

ความหมายและคุณสมบัติของผู้นำ

ความแตกต่างระหว่างการเป็นผู้นำกับการเป็นหัวหน้า หัวหน้า คือ ตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง มีอำนาจหน้าที่ตามกฎบริษัท แต่ ภาวะผู้นำเป็นลักษณะในตัวบุคคลที่ทำให้ผู้อื่นยอมรับนับถือ.. คุณสมบัติของผู้นำตามอักษรแต่ละตัวในคำว่า LEADERSHIP มีความหมายบ่งชี้ถึงลักษณะต่างๆ ของผู้นำที่ดี ดังนี้
1. L คือ Listen เป็นผู้ฟังที่ดี..
2. E คือ Explain สามารถอธิบายสิ่งต่างๆ ให้เข้าใจได้..
3. A คือ Assist ช่วยเหลือเมื่อควรช่วย…
4. D คือ Discuss รู้จักแลกเปลี่ยนความคิดเห็น..
5. E คือ Evaluation ประเมินผลการปฏิบัติงาน..
6. R คือ Response แจ้งข้อมูลตอบกลับ…
7. S คือ Salute ทักทายปราศรัย...
8. H คือ Health มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ..
9. I คือ Inspire รู้จักกระตุ้นและให้กำลังใจลูกน้อง..
10. P คือ Patient มีความอดทนเป็นเลิศนั่นเอง..

ลักษณะภาวะผู้นำ
1. ความหมาย ลักษณะของผู้นำและภาวะผู้นำ
ความหมายของภาวะผู้นำ ( Leadership ) มีดังนี้
1.1 พฤติกรรมส่วนตัวของบุคคลคนหนึ่งที่จะชักนำกิจกรรมของกลุ่มให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน
1.2 เป็นความสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลระหว่างผู้นำ และผู้ตาม ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน
1.3 เป็นความสามารถที่จะสร้างความเชื่อมั่นและให้การสนับสนุนบุคคลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายองค์การ
2. ปัจจัยที่ผู้นำจะต้องเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย อิทธิพล, ความตั้งใจ, ความรับผิดชอบ, การเปลี่ยนแปลง, มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน และมีการจูงใจให้ปฎิบัติตาม
3. บทบาทและภาวะผู้นำ ภาวะผู้นำที่ดีขององค์การ ควรมีลักษณะดังนี้
o เป็นตัวแทนในทุกสถานการณ์
o เป็นนักพูดที่ดี
o เป็นนักเจรจาต่อรอง
o การสอนงาน
o เป็นผู้สามารถสร้างทีมงานได้
o แสดงบทบาทการทำงานเป็นทีม
o สามารถแก้ปัญหาด้านเทคนิคได้
o การประกอบการ
4. การบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ( Management ) เป็นกระบวนการนำเสนอทรัพยากรการบริหารมาใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามขั้นตอนการบริหาร ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ
4.1 การวางแผน ( Planning ) การกำหนดวัตถุประสงค์, การตัดสินใจ, การวางแผน
4.2 การจัดองค์การ ( Organizing ) การรวบรวมทรัพยากร, การจัดหาคนเข้าทำงาน, การจัดโครงสร้าง
4.3 การนำ ( Leading ) การจูงใจ, การมีอิทธิพลและการติดต่อสื่อสาร
4.4 การควบคุม ( Controlling ) การตรวจสอบ, การบริการสินค้า, กระบวนการ และการควบคุมคุณภาพ

คุณลักษณะของผู้นำ
1. คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพของผู้นำที่มีประสิทธิผล มีลักษณะดังนี้
1. เป็นบุคคลที่ทำให้องค์การประสบความก้าวหน้า และบรรลุผลสำเร็จ
2. เป็นผู้ที่มีบทบาทที่สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา
3. การจูงใจผู้อื่นให้ปฎิบัติตาม การติดต่อสื่อสาร และมีอิทธิพลเหนือผู้ใต้บังคับบัญชาตามอำนาจหน้าที่ของการบริหารที่ดำรงตำแหน่งอยู่
4. ผู้นำมีส่วนทำให้เกิดวิสัยทัศน์ขององค์การและของพนักงาน ซึ่งรวมถึงผู้นำที่สามารถใช้อำนาจ อิทธิพลต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อนำกลุ่มประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งด้วย
5. ผู้นำยังเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อกลุ่ม และสามารถนำกลุ่มให้ปฎิบัติงานต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
2. แรงจูงใจของภาวะผู้นำ ( Leadership motives ) เป็นความจำเป็น , ความต้องการ, แรงกระตุ้น, ความปรารถนา หรือสภาพภายในของบุคคล ซึ่งมีพลังกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่จะบรรลุเป้าหมาย ผู้นำที่มีประสิทธิผลมักแสดงลักษณะเด่นด้านแรงจูงใจ ซึ่งมีพลังกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่จะตอบสนองความต้องการด้านการยอมรับ การยกย่อง และความต้องการประสบความสำเร็จสูงสุดในชีวิต แรงจูงใจที่เกี่ยวข้องกับงานมีดังนี้
2.1 แรงจูงใจด้านอำนาจ ( The power motive )
2.2 แรงกระตุ้นและแรงจูงใจเพื่อให้เกิดความสำเร็จ ( Drive and achievement motive )
2.3 ยึดมั่นในจริยธรรมการทำงาน ( Strong work ethic )
2.4 ความมุ่งมั่น ( Tenacity )


3. ปัจจัยด้านสติปัญญาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและภาวะผู้นำ หมายถึง กระบวนการด้านสติปัญญาในการรวบรวมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะผู้นำ ความสามารถด้านสติปัญญาเป็นสิ่งสำคัญสำหรับความสำเร็จของภาวะผู้นำ ผู้นำจำเป็นต้องมีระดับสติปัญญาที่เฉลียวฉลาดเพราะจะทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และมีความสามารถที่จะแสวงหาข้อมูลที่จำเป็น
3.1 ทฤษฎีความสามารถด้านสติปัญญาและทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ เป็นทฤษฎีที่ช่วยสนับสนุนและพัฒนาภาวะผู้นำให้เกิดความสามารถด้านสติปัญญาและความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผล ทฤษฎีความเข้าใจ มีสมมติฐานที่เป็นพื้นฐานสำคัญ 2 ประการคือ ผู้นำที่มีระดับสติปัญญาและมีความสามารถสูงกว่า มีแผนงาน มีการตัดสินใจและมีกลยุทธ์ดีกว่าผู้นำที่มีระดับสติปัญญาและความสามารถต่ำกว่า , ผู้นำกลุ่มงาน จะสื่อสารแผนงาน มีการตัดสินใจ และมีกลยุทธ์การปฎิบัติงานเริ่มแรกในรูปของพฤติกรรมแบบบงการ
3.2 ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ จะขึ้นอยู่กับสมมติฐานซึ่งมุ่งที่ความสามารถด้านสติปัญญาดังนี้
3.2.1 ถ้าผู้นำเน้นประสบการณ์ จะทำให้ความสามารถและสติปัญญาของเขาหันเหไปจากงานที่มีอยู่ ซึ่งเป็นผลให้การวัดระดับสติปัญญาและความสามารถของผู้นำจะไม่สัมพันธ์กับการทำงานกลุ่ม
3.2.2 ความสามารถด้านสติปัญญา ของผู้นำแบบบงการ จะสัมพันธ์อย่างสูงกับผลการปฎิบัติงานของกลุ่มมากกว่าความสามารรถด้านสติปัญญามากกว่าผู้นำที่ไม่ใช่แบบบงการ
3.2.3 ความสามารถด้านสติปัญญาของผู้นำจะสัมพันธ์กับผลการปฎิบัติงานของกลุ่มซึ่งจะต้องใช้ความสามารถด้านสติปัญญาด้วย

ภาวะผู้นำที่มีความสามารถพิเศษและภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป
1. ทฤษฎีภาวะผู้นำที่มีความสามารถพิเศษของ House พอสรุปได้ดังนี้
1.1 ผู้ใต้บังคับบัญชาให้ความไว้วางใจในการกระทำที่ถูกต้องของผู้นำ
1.2 ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความเชื่อถือในผู้นำ
1.3 ผู้ใต้บังคับบัญชายอมรับการกระทำของผู้นำ
1.4 ผู้ใต้บังคับบัญชาจะไม่มีการพูดให้ร้ายต่อผู้นำเพราะมีความชอบในตัวผู้นำ
1.5 ผู้ใต้บังคับบัญชาจะอยู่ในโอวาทเชื่อฟัง
1.6 ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดการเอาอย่างผู้นำ
1.7 ผู้ใต้บังคับบัญชาจะมีอารมณ์อยากทำงานร่วมกับกลุ่ม
1.8 ผู้ใต้บังคับบัญชาปฎิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมายในระดับสูง
1.9 ผู้ใต้บังคับบัญชาอุทิศตนเพื่อความสำเร็จในงานหรือกลุ่ม หรือรับรู้ที่จะช่วยเหลือกลุ่มให้บรรลุภารกิจ
2. ชนิดของผู้นำที่มีความสามารถพิเศษ แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิดคือ
2.1 ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษด้านสังคม
2.2 ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษซึ่งมุ่งที่ตนเอง
2.3 ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษด้านการควบคุมสำนักงาน
2.4 ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะตัว
2.5 ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษด้านพรสวรรค์
3. ลักษณะของผู้นำที่มีความสามารถพิเศษ
3.1 เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์
3.2 เป็นผู้มีความสามารถด้านทักษะการสื่อสาร
3.3 เป็นผู้ที่มีความสามารถก่อให้เกิดความไว้วางใจ
3.4 เป็นผู้ที่สามารถทำให้สมาชิกของกลุ่มรู้สึกว่าเขามีความสามารถ
3.5 เป็นผู้ที่มีพลังและมุ่งที่การปฎิบัติให้บรรลุผล
3.6 เป็นผู้ที่มีการแสดงอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมและมีความเอื้ออาทรหรือให้ความอบอุ่นกับผู้อื่น
3.7 เป็นผู้ที่ชอบที่จะเสี่ยง
3.8 เป็นผู้ที่ใช้กลยุทธ์ใหม่ที่มีลักษณะโดดเด่น ( ไม่ทำตามแบบดั้งเดิม )
3.9 เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ส่งเสริมตนเอง
3.10 เป็นผู้ที่พยายามที่จะมีความขัดแย้งภายในให้น้อยที่สุด
4. ทฤษฎีว่าด้วยภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป มีดังนี้
4.1 ทฤษฎีว่าด้วยภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของ Burn
4.2 ทฤษฎีว่าด้วยภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของ Bass
4.3 การวิจัยค้นคว้าของ Tichy Devanna

ประสิทธิผลของพฤติกรรมและทัศนคติของผู้นำ
1. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมในการปฎิบัติงาน เป็นผู้นำที่ใช้หลักการเข้าร่วมปรึกษาหารือในกลุ่มแทนที่จะเป็นผู้ตรวจสอบการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน ซึ่งประกอบด้วย
1.1 การตัดสินใจแบบเผด็จการ
1.2 การปรึกษาหารือ
1.3 การตัดสินใจร่วมกัน
1.4 การมอบหมายงาน

2. ทฤษฎีสากลว่าด้วยประสิทธิผลของพฤติกรรมผู้นำ เป็นการศึกษาทฤษฎีที่สำคัญ 2 ประการคือ ทฤษฎีภาวะผู้นำที่มุ่ง ( Task oriented ) และทฤษฎีภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมในการปฎิบัติ
3. ภาวะผู้นำที่ดีเลิศ ( Superleadership ) เป็นภาวะผู้นำที่กล้าเสี่ยง โดยเปิดโอกาสให้บุคคลนำตนเองได้พนักงานจะสามารถเพิ่มโอกาสในการปฏิบัติงานได้ดีมากขึ้น
วิธีการที่บุคคลควรฝึกฝนการมีภาวะผู้นำในตนเองควรกระทำดังนี้
1. ระบุและแก้ไขความเชื่อและข้อสมมติที่ไม่ดี
2. การเจรจาในทางสร้างสรรค์และเป็นบวก
3. หาวิธีการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล

รูปแบบของภาวะผู้นำแบบคลาสสิก
1. ลำดับความต่อเนื่องของภาวะผู้นำ : รูปแบบของภาวะผู้นำแบบคลาสสิก
เป็นการศึกษาถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างพฤติกรรมของผู้นำ 2 รูปแบบคือ
1. ภาวะผู้นำที่มุ่งที่หัวหน้าเป็นศูนย์กลาง เปรียบเทียบกับผู้นำที่มุ่งพนักงานเป็นศูนย์กลาง
2. ลำดับความต่อเนื่องของภาวะผู้นำแบบเผด็จการ, แบบมีส่วนร่วมและแบบให้เสรีภาพ
2. ตารางการเป็นผู้นำ หรือตารางการบริหาร เป็นตารางการบริหารซึ่งใช้เป็นกรอบงานที่เกี่ยวข้องกับมุมมองของผู้นำที่มีต่องานและต่อพนักงาน และยังเป็นระบบที่ทำให้เกิดความเข้าใจสำหรับการฝึกอบรมผู้นำและการพัฒนาองค์การ กรอบงานจะเกี่ยวข้องกับมุมมองของผู้นำ ดังนี้
2.1 การมุ่งงาน (Concern for results หรือ Task orientation ) เป็นภาวะผู้นำที่มุ่งที่การเพิ่มผลผลิต
2.2 การมุ่งที่พนักงาน ( Concern for people ) เป็นภาวะผู้นำที่มุ่งที่การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน
3. รูปแบบของภาวะผู้นำแบบผู้ประกอบการมีลักษณะดังนี้
1. มีแรงจูงใจที่จะประสบความสำเร็จสูง และเผชิญความเสี่ยงอย่างมีเหตุผล
2. การมีความกระตือรือร้น และการสร้างสรรค์สูง
3. มีแนวโน้มที่จะตอบสนองอย่างรวดเร็วเมื่อมีโอกาส
4. เร่งรีบเป็นประจำ
5. มองเหตุการณ์ล่วงหน้าอย่างมีวิสัยทัศน์
6. ไม่ชอบงานที่มีลำดับขั้นตอนและระบบราชการ
7. ชอบที่จะพบกับลูกค้า

ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์
1. รูปแบบของภาวะผู้นำ ( Leadership style ) เป็นรูปแบบพฤติกรรมของผู้นำที่กำหนดขึ้นเพื่อนำสมาชิกขององค์การให้เป็นไปตามการบังคับบัญชาที่เหมาะสม ในทฤษฎีของ Fiedler มี 2 ประการดังนี้
1. การศึกษารูปแบบของผู้นำที่ความสัมพันธ์ เป็นผู้นำที่มุ่งความเกี่ยวข้องกับพนักงาน ผู้นำประเภทนี้จะสร้างความไว้วางใจ ความเคารพนับถือและรับฟังความต้องการของพนักงาน จะมีลักษณะเหมือนกับผู้นำแบบที่คำนึงถึงผู้อื่นเป็นหลัก
2. ผู้นำที่มุ่งงาน เป็นผู้นำที่มุ่งความสำเร็จในงาน จะกำหนดทิศทางและมาตรฐานในการทำงานไว้อย่างชัดเจน มีลักษณะคล้ายกับผู้นำแบบที่เริ่มต้นจากตนเองเป็นหลัก
2. ลักษณะสำคัญของทฤษฎีเส้นทางสู่เป้าหมาย คือ ผู้บริหารควรเลือกรูปแบบของภาวะผู้นำซึ่งนำไปสู่การกำหนดลักษณะของพนักงานและความต้องการในงาน ซึ่งทฤษฎีนี้มีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ
1. ความเหมาะสมระหว่างรูปแบบของภาวะผู้นำในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. วิธีการที่ผู้นำมีอิทธิพลต่อผลการปฎิบัติงานของพนักงาน
3. ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ในการบริหารระดับสูง
ผู้บริหารระดับสูงสามารถสร้างภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ได้ 5 แนวคิดดังนี้
1. แนวคิดเชิงกลยุทธ์
2. แนวคิดด้านมนุษย์เป็นสินทรัพย์
3. แนวคิดความเชี่ยวชาญ
4. แนวคิดการสกัดกั้น
5. แนวคิดด้านตัวแทนการเปลี่ยนแปลง

อำนาจ การเมือง และภาวะผู้นำ
1. แหล่งและประเภทของอำนาจของภาวะผู้นำ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. อำนาจตามตำแหน่งงาน
2. อำนาจส่วนบุคคล
3. อำนาจที่มาจากการเป็นเจ้าของ
4. อำนาจจากการจัดสรรทรัพยากร
5. อำนาจที่เกิดจากความสามารถในการแสวงหาโอกาส
6. อำนาจที่มาจากการจัดการกับปัญหาที่สำคัญ
7. อำนาจที่มาจากการใกล้ชิดกับผู้ที่มีอำนาจ

2. ยุทธวิธีสำหรับการเป็นผู้นำที่มีการมอบอำนาจ
ลักษณะของการมอบอำนาจและการปฎิบัติเกี่ยวกับการมอบอำนาจให้กลุ่มมีดังนี้
1. ลักษณะของการมอบอำนาจ
2. การปฎิบัติการด้านการมอบอำนาจ
3. ยุทธวิธีและกลยุทธ์ทางการเมือง จะกระตุ้นให้เกิดยุทธวิธีใหม่ ๆ ดังนี้
1. ยุทธวิธีและกลยุทธ์ทางการเมืองที่มีจริยธรรม
2. กลยุทธ์และยุทธวิธีการแสวงหาอำนาจโดยตรง
3. กลยุทธ์และยุทธวิธีมุ่งสร้างความสัมพันธ์
4. การหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดทางการเมือง
5. ยุทธวิธีและกลยุทธ์ทางการเมืองที่ไม่มีจริยธรรม


การพัฒนาทีมงาน

1. ความเป็นผู้นำแบบทีมงาน และความเป็นผู้นำแบบฉายเดี่ยว
- ความเป็นผู้นำแบบทีมงาน ( Team leadership ) เป็นภาวะผู้นำซึ่งมีภารกิจร่วมทำงานกับสมาชิก เพื่อกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งภายในองค์การ ผู้นำแบบทีมงานจึงจำเป็นต้องกระจายอำนาจให้กับทีมงาน พัฒนาเพื่อร่วมงานและกระตุ้นให้ทีมสร้างสรรค์ภารกิจใหม่ ๆ ขึ้นมา
- ความเป็นผู้นำแบบฉายเดี่ยว ( Solo leadership ) เป็นภาวะผู้นำที่แสดงหลายบทบาทในคนเดียวกัน โดยมุ่งใช้ความเด็ดขาด ชี้นำลูกน้อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
2. ข้อดีข้อเสียของการทำงานเป็นกลุ่ม และการทำงานเป็นทีม
1. การทำงานเป็นกลุ่ม หมายถึง การรวมตัวกันของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปเพื่อทำงานร่วมกับบุคคลอื่นให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ โดยอาจเป็นการรวมกันอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการก็ได้
2. การทำงานเป็นทีม หมายถึง การที่บุคคลหลาย ๆ คนมารับผิดชอบงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุ
ประสงค์ร่วมกัน ซึ่งบุคคลแต่ละคนล้วนมีพื้นฐาน แนวความคิด ทัศนคติและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
3. พฤติกรรมและทัศนคติของผู้นำที่จะเกื้อกูลทีมงานที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดทีมงานที่มีประสิทธิผล
1. การกำหนดภารกิจของทีม
2. การกำหนดบรรทัดฐานของทีมงานและใช้ทฤษฎีความร่วมมือ
3. การมุ่งเน้นความภาคภูมิใจในความเป็นเลิศ
4. จัดให้มีการรวมตัวชุมนุมกัน
5. ปฎิบัติต่อสมาชิกของทีมเสมือนเป็นตัวต้นแบบของทีม
6. การใช้วิธีการนำแบบการลงมติเอกฉันท์
7. การออกแบบโครงสร้างทางกายภาพที่จะเอื้ออำนายต่อการสื่อสาร
8. กำหนดความเร่งด่วน การเรียกร้องมาตรฐานการทำงาน และการให้การชี้นำ
9. การมุ่งเน้นการเห็นคุณค่าของกลุ่มและการให้รางวัล
10. กระตุ้นการพัฒนากลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
11. สนับสนุนให้มีการแข่งขันกับกลุ่มอื่น
12. สนับสนุนให้มีการใช้ภาษาเฉพาะกลุ่ม
13. การริเริ่มให้มีการใช้พิธีการและพิธีเกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
14. รวบรวมผลป้อนกลับด้านประสิทธิผลของทีมงาน
15. ลดการบริหารให้มีน้อยที่สุด
4. การฝึกอบรมนอกสถานที่และการพัฒนาทีมงาน เป็นแนวทางการศึกษาวิธีการพัฒนาทีมงานอีกวิธีหนึ่งก็คือ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมจากประสบการณ์ ซึ่งเป็นวิธีการให้ผู้มีส่วนร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ในสภาพแวดล้อมในการฝึกอบรมเกี่ยวกับปัญหาซึ่งเผชิญในการทำงาน
การจูงใจและทักษะการสอนงาน
1. ทฤษฎีความคาดหวัง หมายถึง การที่บุคคลได้รับการกระตุ้นจากภายในให้แสดงพฤติกรม โดยเป็นอิทธิพลภายในบุคคลซึ่งเป็นแรงผลักดันให้บุคคลใช้ความพยายามในการทำงาน โดยเป็นสิ่งเร้าใจให้บุคคลเกิดความคิดริเริ่ม ควบคุมรักษาพฤติกรรมและการกระทำของตนเองได้ ดังนั้นจึงถือเป็นทฤษฎีที่เสนอว่าบุคคลแต่ละคนจะทำการตัดสินใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานโดยถือเกณฑ์ความสามารถในการรับรู้ในผลการปฏิบัติงานและการได้รับรางวัล

2. ทฤษฎีการกำหนดเป้าหมาย เป็นทฤษฎีการจูงใจในการทำงานซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานกับลักษณะของเป้าหมายซึ่งเกี่ยวข้องการทำงานนั้น กล่าวคือพฤติกรรมของบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นผลมาจากความตั้งใจในการบรรลุเป้าหมาย ซึ่งการกำหนดเป้าหมายคือการกำหนดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานนั่นเอง

3. ทักษะและเทคนิคการสอนงาน มีดังนี้
1. การสื่อสารเกี่ยวกับความคาดหวังที่ชัดเจน
2. ให้สมาชิกของทีมเข้าใจ ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เฉพาะเจาะจง
3. ตั้งใจฟังอย่างกระตือรือร้น
4. ช่วยขจัดอุปสรรค
5. ให้ความช่วยเหลือด้านอารมณ์
6. ความเข้าใจอารมณ์ของทีมงาน
7. สะท้อนความรู้สึกต่อเนื้อหาและความสำคัญของการสอนงาน
8. เป็นผู้ให้คำแนะนำเชิงสร้างสรรค์
9. ยินยอมให้แสดงผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมที่พึงปรารถนา
10. สร้างพันธะผูกผันในการเปลี่ยนแปลงร่วมกัน

ดร.สมัย เหมมั่น แนะนำการบริหารยุคสมัย ใหม่นี้ เป็น ยุคการติดต่อสื่อสารที่ไร้พรมแดน ทุกฝ่ายที่ร่วมการทำงานต้องมีความจริงใจมากขึ้น